ผลของสมาธิบำบัดแบบ SKT ต่อการลดระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน

Main Article Content

ธีรพล มโนศักดิ์เสรี

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการทําสมาธิบําบัดแบบSKT ต่อการลดระดับนํ้าตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน


แบบวิจัย: งานวิจัยกึ่งทดลองQuasi Experimental Research แบบPre-Post Test Control Group Design


วัสดุและวิธีการ: กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่มตามความสะดวกโดยเป็นกลุ่มทดลอง 25 คนกลุ่มควบคุม 22 คนกลุ่มทดลองปฏิบัติสมาธิบําบัดแบบSKT เทคนิคที่ 1 และ 2 เป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 24 สัปดาห์โดยกลุ่มควบคุมได้รับความรู้และคําแนะนําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเหมือนกับกลุ่มทดลองเก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามแบบทดสอบความรู้และระดับนํ้าตาลในเลือดจากการตรวจเลือดfasting blood sugar ของโรงพยาบาลอุดรธานี


ผลการศึกษา: วิจัยพบว่าค่าเฉลี่ยระดับนํ้าตาลในเลือดของกลุ่มทดลองหลังการปฏิบัติสมาธิบําบัดแบบSKT (mean = 93.14, +/-SD = 10.08) ตํ่ากว่าก่อนทดลอง (mean = 109.9, +/-SD = 7.66) แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ < 0.01 และเมื่อเปรียบเทียบหลังทดลองระหว่างกลุ่มพบว่ากลุ่มทดลองมีระดับนํ้าตาลเฉลี่ย (mean = 93.14, +/-SD = 10.08) ตํ่ากว่ากลุ่มควบคุม(mean = 105.5, +/-SD = 8.41) แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ < 0.01


สรุป: การปฏิบัติสมาธิบําบัดSKT สามารถช่วยลดระดับนํ้าตาลในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานได้

Article Details

How to Cite
1.
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ
Author Biography

ธีรพล มโนศักดิ์เสรี, กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลอุดรธานี

ชื่อ-สกุล                            นายแพทย์ ธีรพล มโนศักดิ์เสรี

 

วัน เดือน ปีเกิด                11 มีนาคม 2528

 

ประวัติการศึกษา             2547 - 2553  คณะแพทยศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2) โรงพยาบาลรามาธิบดี   มหาวิทยาลัยมหิดล                             

                                         2556 - 2558  ศึกษาต่อแพทย์เฉพาะทางสาขาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว                                                                       

                          

ประวัติการทำงาน           2553  แพทย์ใช้ทุนปีที่ 1 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี  จังหวัดอุดรธานี

                                        2554 - 2555  นายแพทย์ปฏิบัติการ โรงพยาบาลวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี

                                        2556 - 2558  นายแพทย์ปฏิบัติการ พร้อมศึกษาต่อยอดในโครงการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มความรู้ความสามารถ สาขาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้ายจังหวัดเลย

                                        2559 - 2561 นายแพทย์ชำนาญการ ปฎิบัติงานแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้ายจังหวัดเลย 

                                        2561 - ปัจจุบัน   นายแพทย์ชำนาญการ ปฎิบัติงานแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว แผนกเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี จังหวัดอุดรธานี

 

ตำแหน่งปัจจุบัน             นายแพทย์ชำนาญการ สาขาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว แผนกเวชกรรมสังคม  โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี  จังหวัดอุดรธานี

 

งานวิจัยที่เคยตีพิมพ์ Manosaksaree T.  Effectiveness of Weekly Self-weighing Frequency Associated with Reduced Weight and Behavioral change: Burapha journal of medicine 2016; 1 11-7 

 

 

References

1. กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักโรคไม่ติดต่อ. รายงานประจำปีสำนักงานโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.” สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2559.
2. สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน. กรุงเทพมหานคร: หจก.อรุณการพิมพ์., 2557.
3. Heianza, Yoriko, Shigeko Hara, Yasuji Arase, Kazumi Saito, Kazuya Fujiwara, Hiroshi Tsuji, Satoru Kodama, et al. “HbA1c 5·7-6·4% and Impaired Fasting Plasma Glucose for Diagnosis of Prediabetes and Risk of Progression to Diabetes in Japan (TOPICS 3): A Longitudinal Cohort Study.” Lancet (London, England) 378, no. 9786 (July 9, 2011): 147–55.
4. Vojta, Deneen, Jeanne De Sa, Ted Prospect, and Simon Stevens. “Effective Interventions for Stemming the Growing Crisis of Diabetes and Prediabetes: A National Payer’s Perspective.” Health Affairs (Project Hope) 31, no. 1 (January 2012): 20–26.
5. Tuso, Phillip. “Prediabetes and Lifestyle Modification: Time to Prevent a Preventable Disease.” The Permanente Journal 18, no. 3 (2014): 88–93.
6. “รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2 | Resource Center ศูนย์บริการข้อมูล สสส.”
7. วนทนีย์ เกรียงสินยศ. โภชนาการกับเบาหวาน. Vol. 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สารคดี, 2551.
8. Norris Susan L., Joseph Lau, S. Jay Smith, Christopher H. Schmid, and Michael M. Engelgau. “Self-Management Education for Adults with Type 2 Diabetes: A Meta-Analysis of the Effect on Glycemic Control.” Diabetes Care 25, no. 7 (July 2002): 1159–71.
9. Chao Mengyao, Chunyan Wang, and Xiaosheng Dong. “The Effect of Tai Chi on Type 2 Diabetes Mellitus: Meta-Analysis.” Journal of Diabetes Research 2018 .
10. ศิริลักษณ์ โพธิ์สุยะ. “ผลของการออกกำลังกายแบบไท่ จี๋ ซี่กงต่อระดับไกลโคไซเลทฮีโมโกลบิน ของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Effect of Tai Chi Qigong exercise on glycosylated hemoglobin level among the elderly with type 2 disbetes, (2548).
11. วรัญญากรณ์ โนใจ, เอกพันธ์ คำภีระ, เฉลิมพล ก๋าใจ. “ผลของการปฏิบัติสมาธิบำบัดเพื่อการเยียวยาแบบ SKT ต่อระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน.” วารสารพยาบาลทหารบก 19, no. 3 (กันยายน-ธันวาคม 2561): 175-84.
12. Atikarn Gainey, Thep Himathongkam, and Hirofumi Tanaka. “Effects of Buddhist Walking Meditation on Glycemic Control and Vascular Function in Patients with Type 2 Diabetes.” Complementary Therapies in Medicine 26 (June 2016): 92–97.
13. Soo Lee, Myeong, Tae-Young Choi, and Hyun-Ja Lim. “Tai Chi for Management of Type 2 Diabetes Mellitus: A Systematic Review” 17, no. 10 (October 2011): 789–93.
14. Yan J.H., Gu W.J., and Pan L. “Lack of Evidence on Tai Chi-Related Effects in Patients with Type 2 Diabetes Mellitus: A Meta-Analysis.” Experimental and Clinical Endocrinology Diabetes 121, no. 5 (2013): 266–71.
15. สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี, การปฏิบัติสมาธิเพื่อเยียวยาสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2552.
16. Bishop, Felicity L., Romy Lauche, Holger Cramer, Jonquil W. Pinto, Brenda Leung, Helen Hall, Matthew Leach, et al. “Health Behavior Change and Complementary Medicine Use: National Health Interview Survey 2012.” Medicina (Kaunas, Lithuania) 55, no. 10 (September 24, 2019).
17. Hawk, Cheryl, Harrison Ndetan, and Marion Willard Evans. “Potential Role of Complementary and Alternative Health Care Providers in Chronic Disease Prevention and Health Promotion: An Analysis of National Health Interview Survey Data.” Preventive Medicine 54, no. 1 (January 2012): 18–22.
18. Zowgar, Asim M., Muhammad I. Siddiqui, and Khalid M. Alattas. “Level of Diabetes Knowledge among Adult Patients with Diabetes Using Diabetes Knowledge Test.” Saudi Medical Journal 39, no. 2 (February 2018): 161–68.
19. Mufunda, Esther, Kerstin Wikby, Albin Björn, and Katarina Hjelm. “Level and Determinants of Diabetes Knowledge in Patients with Diabetes in Zimbabwe: A Cross-Sectional Study.” The Pan African Medical Journal 13 (2012): 78.
20. Fenwick, Eva K., Jing Xie, Gwyn Rees, Robert P. Finger, and Ecosse L. Lamoureux. “Factors Associated with Knowledge of Diabetes in Patients with Type 2 Diabetes Using the Diabetes Knowledge Test Validated with Rasch Analysis.” PloS One 8, no. 12 (2013): e80593.
21. Poulimeneas, Dimitrios, Maria G. Grammatikopoulou, Vasiliki Bougioukli, Parthena Iosifidou, Maria F. Vasiloglou, Maria-Assimina Gerama, Dimitrios Mitsos, Ioanna Chrysanthakopoulou, Maria Tsigga, and Kyriakos Kazakos. “Diabetes Knowledge among Greek Type 2 Diabetes Mellitus Patients.” Endocrinologia Y Nutricion: Organo De La Sociedad Espanola De Endocrinologia Y Nutricion 63, no. 7 (September 2016): 320–26.