การพัฒนาต้นแบบหีบห่อบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนข้าวบ้านเชียงกรม ในรูปแบบของฝากของที่ระลึกที่มีอัตลักษณ์ประจำถิ่น

ผู้แต่ง

  • ภัทรวิทย์ อยู่วัฒนะ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • หทัยพันธน์ สุนทรพิพิธ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ปรรณวัฒน์ ชูวิเชียร วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • พาโชค เลิศอัศวภัทร วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ศิริญญา ศิริญานันทน์ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

DOI:

https://doi.org/10.53848/jlsco.v10i2.265993

คำสำคัญ:

ต้นแบบหีบห่อบรรจุภัณฑ์, วิสาหกิจชุมชนข้าวบ้านเชียงกรม, อัตลักษณ์ประจำถิ่น

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาค้นคว้าอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนแปรรูปข้าวบ้านเชียงกรมในการพัฒนาต้นแบบหีบห่อบรรจุภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนข้าวบ้านเชียงกรมในรูปแบบของฝากของที่ระลึกที่มีอัตลักษณ์ประจำถิ่น 2) พัฒนาต้นแบบหีบห่อของผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนแปรรูปข้าวบ้านเชียงกรมในรูปแบบของฝากของที่ระลึกที่มีอัตลักษณ์ประจำถิ่น และ 3) สร้างตัวแบบแนวทางในการเพิ่มระดับความตั้งใจซื้อสินค้าจากตัวแบบทางการตลาดที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนแปรรูปข้าวบ้านเชียงกรมที่ได้รับการพัฒนาหีบห่อบรรจุภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนข้าวบ้านเชียงกรมในรูปแบบของฝากของที่ระลึกที่มีอัตลักษณ์ประจำถิ่น โดยใช้การวิจัยแบบผสมระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลจากชาวบ้านในพื้นที่เคยบริโภคข้าวสวยซึ่งได้มาจากกรรมวิธีการประกอบอาหาร เพื่อหาแนวทางในการสร้างอัตลักษณ์บรรจุภัณฑ์ที่มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ สัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 7 คน ตัวอย่างแจกแบบสอบถาม 385 คน และทดสอบสมมติฐานความสัมพันธ์แนวทางการสร้างตัวแบบทางการตลาดอันมีบริบทเฉพาะ ผลวิจัยพบว่า 1) ดอกบัวตูมสีแดงมุมบน ซึ่งดอกบัวสีแดงเป็นตัวแทนเชิงสัญลักษณ์ประจำถิ่นของเขตพื้นที่ในชุมชน 2) ได้นำมาพัฒนาเป็นตัวแบบบรรจุภัณฑ์หีบห่อซึ่งทำให้ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวบ้านเชียงกรมที่มีหีบห่อบรรจุภัณฑ์ซึ่งความโดดเด่นมีอัตลักษณ์ชัดเจน และ 3) ต้นแบบไปใช้ศึกษา ได้ถูกนำไปสร้างตัวแบบทางการตลาด และทดสอบสมมติฐานแล้วพบว่า ตัวแบบสมการโครงสร้างทางการตลาดที่สร้างขึ้นนั้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์สามารถนำมาใช้เป็นตัวแบบแนวทางในการเพิ่มระดับความตั้งใจซื้อสินค้าจากตัวแบบทางการตลาดที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนแปรรูปข้าวบ้านเชียงกรมที่ได้รับการพัฒนาหีบห่อบรรจุภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนข้าวบ้านเชียงกรมในรูปแบบของฝากของที่ระลึกที่มีอัตลักษณ์ประจำถิ่นได้

References

กรมการค้าภายใน. (2565). ข้อมูลสถิติผู้ประกอบการค้าข้าวไทย. ค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2565, จาก: https://www.dit.go.th

กรมการปกครอง. (2565). ตำบลบ้านเชียงกรม อำเภอท่าม่วง จังหวัดอุดรธานี. ค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2565, จาก: https://www.dopa.go.th/

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2555). สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิตติกรณ์ บำรุงบุญ และปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกที่สะท้อนอัตลักษณ์ท้องถิ่นจังหวัดมหาสารคามเพื่อยกระดับมูลค่าทางเศรษฐกิจ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 40(2), 7-24.

งามพิศ สัตย์สงวน. (2558). การวิจัยเชิงคุณภาพทางมานุษยวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทวีพร พนานิรามัย. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจซื้อสินค้าซุปเปอร์มาร์เก็ตออนไลน์ A ของผู้บริโภคในเขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

นุชนาฎ เชียงชัย. (2558). การใช้อัตลักษณ์เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พูนเพิ่ม เสรีวิชยสวัสดิ์. (2562). การยอมรับและการใช้เทคโนโลยี: บทบาทสำคัญต่อพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรในอุตสาหกรรมไมซ์ของไทย. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 13(3), 505-519.

วิภาวดี พรมพุทธา และขาม จาตุรงคกุล. (2565). โครงการออกแบบอัตลักษณ์ตราสินค้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายโดยได้แรงบันดาลใจจากดอกไม้เมืองเลย กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายชุมชนบ้านกาบก อ.วังสะพุง จ.เลย. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 23 ประจำปี 2565, วันที่ 25 มีนาคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 326-344.

สัญญา เคณาภูมิ. (2559). บทวิเคราะห์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: ความเชื่อมโยงแนวปฏิบัติทฤษฎีอื่น. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(2), 69-84.

สุชาวดี ณรงค์ชัย. (2563). ความรู้ ทัศนคติ และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ออร์แกนิคสำหรับดูแลผิวพรรณและเส้นผมของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารการตลาด, มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุนิฏฐา ภู่พงศ์พันธ์. (2555). ทัศนคติ และความตั้งใจซื้อคูปองส่วนลดค่าสินค้าและบริการผ่านเว็บไซต์พาณิชยกรรมทางสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Abdullah, Q. A., & Yu, J. (2019). Attitudes and purchase intention towards counterfeiting luxurious fashion products among Yemeni Students in China. American Journal of Economics, 9(2), 53-64.

Amabile, T. M., Conti, R., Coon, H., Lazenby, J., & Herron, M. (1996). Assessing the work environment for creativity. Academy of Management Journal, 39(5), 1154-1184.

Athapaththu, J., & Kulathunga, D. (2018). Factor affecting online purchase intention: Effects of technology and social commerce. International Business Research, 11(10), 111-128.

Bleize, D. N. M., & Antheunis, M. L. (2019). Factors influencing purchase intent in virtual worlds: A review of the literature. Journal of Marketing Communications, 25(4), 403-420.

Chin, W. W., Gopal, A., & Salisburt, W. D. (1997). Advancing the theory of adaptive structuration: The development of a scale to measure faithfulness of appropriation. Information Systems Research, 8(4), 342-367.

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of psychological testing. New York: Harper & Row.

El-Zeiny, R. (2019). The novelty of cultural-oriented design: New opportunities for SMEs in the Egyptian furniture Industry. The proceeding of 6th International Scientific Conference on Arts and Humanities SWS 2019, 22-24 October 2019 at Florence, Italy, 337-348.

Fornell, C., & Larcker, D. F. (1981). Evaluating structural equation models with unobservable variables and measurement error. Journal of Marketing Research, 18(1), 39–50.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis. 7th ed. New Jersey: Prentice Hall.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. (2006). Confirmatory factor analysis of the youth experiences survey for sport. Open Journal Statistics, 5(5), 421-429.

Ko, E., Lee, S., Phan, M. C., & Kim, K. H. (2011). Product attributes’ effects on perceived values and repurchase intention in Korea, USA, and France. Journal of Global Scholars of Marketing Science, 21(3), 155-166.

Ko, E., Lee, S., & Whang, H. (2013). Authenticity in traditional culture marketing: Consumers’ perceptions of Korean traditional culture. Journal of Global Fashion Marketing, 4(2), 93-11.

Lert-asavapatra, P., Jermsittiparsert, K., Srivardhana, T., Whangmahaporn, B., & Suwunnamek, O. (2022). Ethnocentrism in the virtual world: When nationalism influences purchase intention in video game. Social Space Journal, 22(1), 161-180.

Powrani, K., & Kennedy, F. B. (2018). The effects of guerrilla marketing on generation consumer’s purchase intention. Asian Journal of Economics, Business and Accounting, 7(1), 1-12.

Qin, Z., Song, Y., & Tian, Y. (2019). The impact of product design with traditional cultural properties (TCPs) on consumer behavior through cultural perceptions: Evidence from the young Chinese generation. Sustainability, 11(426), 1-17.

Rachbini, W., & Agustina, A. (2019). Customer style inventory, the usage of Facebook, and purchase intention: Are they connected. Journal Siasat Bisnis, 23(1), 67-81.

Schwartz, N. E. (1975). Nutrition knowledge, attitude, and practice of high school graduates. Journal of the American Dietetic Association, 66(1), 28-31.

Skavronskaya, L., Moyle, B., & Scott, N. (2020). The experience of novelty and the novelty of experience. Frontiers in Psychology, 11(1), 1-12.

Yildiz, S. (2017). Effects of guerrilla marketing on brand awareness and consumers’ purchase intention. Global Journal of Economics and Business Studies, 6(12), 177-185.

Zhang, T., Wen, H., & Li, X. (2018). A tourist-based model of authenticity of heritage sporting events: The case of Naadam. Sustainability, 11(108), 1-20.

Zhou, J., & George, J. M. (2001). When job dissatisfaction leads to creativity: Encouraging the expression of voice. Academy of Management Journal, 44(4), 682-696.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-24