ปัจจัยเหตุและผลที่มีอิทธิพลต่อการจัดการแบบลีนของบริษัทตัวแทนขนส่งสินค้าในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • มงคล เบญจนากาศกุล หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการ จัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต และผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาอิทธิพลของสมรรถนะของผู้ประกอบการ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับงาน การมุ่งเน้นตลาด การจัดการแบบลีน และประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ของบริษัทตัวแทนขนส่งสินค้าในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 240 คน จากประชากร 3,984 บริษัท ที่เป็นผู้ประกอบการในธุรกิจตัวแทนขนส่งสินค้าในประเทศไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง Structural Equation Modeling (SEM) เพื่อทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของแบบจำลองกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และทดสอบอิทธิพลของตัวแปร ผลการวิจัยพบว่าองค์ประกอบเชิงยืนยันมีค่าเป็นไปตามเกณฑ์ ขณะที่การทดสอบอิทธิพลพบว่าสมรรถนะของผู้ประกอบการ (Entrepreneur Competency: ENT) การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับงาน (Task-Technology Fit: TTF) การมุ่งเน้นตลาด (Market Orientation: MAR) มีอิทธิพลทางตรงต่อการจัดการแบบลีน (Lean Management: LEN) และประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ (Logistics Efficiency: PER) นอกจากนี้พบว่าการจัดการแบบลีนมีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ ดังนั้นองค์กรควรมีการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานและการให้บริการ โดยการวัดประเมินความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนการบริการและทำการปรับปรุงทีละขั้นตอนจนได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

References

กระทรวงพาณิชย์. (2563). สถิติการค้าระหว่างประเทศของไทย. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2563, จาก: http://tradereport.moc.go.th/Report/Default.aspx?Report=TradeThBalanceYearly.

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2563). แหล่งค้นหาข้อมูลนิติบุคคล และประเภทธุรกิจในประเทศไทย. ค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2563, จาก: https://datawarehouse.dbd.go.th/business/overview.

วิชิต อู่อ้น. (2553). การวิจัยและการสืบค้นข้อมูลทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2554). สถิติวิเคราะห์สำหรับวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

Alefari, M., Salonitis, K., & Xu, Y. (2017). The role of leadership in implementing lean manufacturing. Procedia CIRP, 63, 756 – 761. https://doi.org/10.1016/j.procir.2017.03.169

Bicheno, J. (2004). The New Lean Toolbox: Towards Fast Flexible Flow. (3rd ed), Buckingham: PICSIE Books.

Dombrowski U., & Mielke T. (2013). Lean Leadership fundamental principles and their application. Procedia CIRP, 7, 569 – 574. https://doi.org/10.1016/j.procir.2013.06.034

Furlan, A., Vinelli, A., & Dal Pont, G.. (2011). Complementarity and lean manufacturing bundles: an empirical analysis. International Journal of Operations & Production Management, 31(8), 835-850. https://doi.org/10.1108/01443571111153067

Hair, J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., & Black, W. C. (1998). Multivariate Data Analysis. (5th ed). London: Prentice Hall International.

Jimale, I. M. (2014). Customer-Led Versus Market-Oriented: An Investigation of The Lean Startup Methodology Framework.

Liu, Y., Lee, Y., & Chen, N.. (2011). Evaluating the effects of task–individual–technology fit in Multi-DSS Models context: A two-phase view. Decision Support Systems, 51(3), 688-700. https://doi.org/10.1016/j.dss.2011.03.009

Man, T. W.Y., Lau, T., & Snape, E. (2008). Entrepreneurial Competencies and the Performance of Small and Medium Enterprises: An Investigation through a Framework of Competitiveness. Journal of Small Business & Entrepreneurship, 21(3), 257-276. https://doi.org/10.1080/08276331.2008.10593424

Martichenko, R. (2015). Lean Transportation Management: Creating Operational and Financial Stability. Retrieved 05 February 2019, from: https://leancor.com/blog/lean-transportation-management creating-operational-and-financial-stability/

Mehdi, F., & Mohammad, F. (2016). Lean Production and Market Orientation: Evidence from Ardabil Province Industrial Companies. International Journal of Humanities and Cultural Studies, 3(1).

Monden, Y. (1998). Toyota Production System: an integrated approach to just-in-time. (2nd ed.). London: Chapman & Hall.

Morris, M. H., Webb, J. W., Singhal, S., & Fu, J. (2013). A Competency-Based Perspective on Entrepreneurship Education: Conceptual & Empirical Insights. Journal of Small Business Management, 51(3), 352-369. https://doi.org/10.1111/jsbm.12023

Narver, J. C., & Slater, S. F. (1990). The effect of a market orientation on business profitability. Journal of Marketing, 54(4), 20–35. https://doi.org/10.2307/1251757

O’Dwyer, M., & Gilmore, A. (2019). Competitor orientation in successful SMEs: an exploration of the impact on innovation. Journal of Strategic Marketing, 27(1), 21-37. https://doi.org/10.1080/0965254X.2017.1384040

Ohno, T. (1988). The Toyota Production System: Beyond Large-Scale Production. (1st ed). New York: Productivity Press.

Pettersen, J. (2009), Defining lean production: some conceptual and practical issues. The TQM Journal, 21(2), 127-142. https://doi.org/10.1108/17542730910938137

Rother, M., & Shook, J. (2003). Learning to See: Value Stream Mapping to Add Value and Eliminate Muda. (1st ed), Cambridge: Lean Enterprise Institute.

Sánchez, J. (2012). The influence of entrepreneurial competencies on small firm performance. Revista Latinoamericana de Psicología, 44, 165-177.

Taleghani, M., Gilaninia, S., & Talab, S. M. (2013). Market Orientation and Business Performance. Singaporean Journal of Business Economics and Management Studies, 1(11), 13-17. https://doi.org/10.12816/0003808

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-09