ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการรถโดยสารประจำทางสายตะวันตก
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1. ความคาดหวังของผู้โดยสารรถตู้โดยสารประจำทางสายตะวันตกจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 2. ความพึงพอใจของผู้โดยสารรถตู้โดยสารประจำทางสายตะวันตก ผู้วิจัย เก็บข้อมูลเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้โดยสารที่ใช้บริการรถตู้โดยสารประจำทางสายตะวันตกเป็นประชากรจำนวน 400 ราย โดยใช้การสุ่มแบบสะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1.ความคาดหวังของผู้โดยสารรถตู้โดยสารประจำทางสายตะวันตกมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติในด้าน การศึกษา และอาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และความพอใจของผู้โดยสารรถตู้โดยสารประจำทางสายตะวันตกมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในด้าน อายุ สถานภาพ การศึกษา และอาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้โดยสารรถตู้โดยสารประจำทางสายตะวันตก มีความแตกต่างกันในทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย ด้านที่มีความแตกต่างกันในสามลำดับแรกได้แก่ ด้านภาพลักษณ์ (ค่าเฉลี่ย=4.44) ด้านการให้บริการ (ค่าเฉลี่ย = 4.23 ) และด้านค่าใช้จ่าย (ค่าเฉลี่ย = 4.28) ตามลำดับReferences
กนกวรรณ นาสมปอง. (2555). สภาพการให้บริการการศึกษาทางอินเทอร์เน็ต งานส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. การค้นคว้าอิสระ. สาขาเทคโนโลยีการศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2552). การตลาดบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
พรทิพย์ บุญเที่ยงธรรม. (2555). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาเที่ยวตลาดนในเขตตลิ่งชัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาการจัดการท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
พรรณปพร จันทราสกาววงศ์ และบุรัสกร โตรัตน์. (2558). ประเมินคุณภาพการบริการประชาชน กรณีศึกษา สำนักงานขนส่งกรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 6(1), 126-140.
มาริสา ไกรงู. (2552). ความพึงพอใจของผู้โดยสารต่อการใช้บริการรถตู้โดยสารปรับอากาศเส้นทางกรณีศึกษา สายกรุงเทพ-เพชรบุรี หมายเลขเส้นทางเดินรถ 73. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. (2553). คุณภาพในงาน (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี.
สุนันท์ นิลพวง. (2557). ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพของผู้โดยสารที่มีต่อการให้บริการรถโดยสาร สถานีขนส่งสายใต้. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 1(2), 96-109.
สุรัชนี ตันเวทยานนท์ และกุลเชษฐ์ มงคล. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจใช้บริการรถโดยสารปรับอากาศชั้น 1: กรณีศึกษาบริษัท ราชบุรีกลุ่ม 76 จำกัด. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 8(1), 63-74.
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งที่ 8) กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อลิสา วิภาสธวัช. (2558). การศึกษาคุณภาพการบริการของรถตู้โดยสารสายกรุงเทพฯ-พัทยา เพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการของรถตู้โดยสาร. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานคณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
Greenberg, J. (2011). Behavior in organizations (10th ed.). Upper Saddle River, NJ:Prentice Hall.
Hellriegel, D., & Slocum, J. W. (2011). Organizational behavior (13th ed.). Mason, OH:South Western Cengage Learning.
Joewono, T. B., & Kubota, H. (2007). The multigroup analysis regarding user perception of par transit service. Paper presented at the Proceedings of the Eastern Asia Society for Transportation Studies The 7th International Conference of Eastern Asia Society for Transportation Studies.
Kotler, P. (2000). Marketing Management: Analysis, Planning, Implementation and Control. (10th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Kotler, P., & Keller, K. L. (2008). Marketing Management, Global Edition (15th ed.). United Kingdom: Pearson Education .
Markovic, S., & Raspor, S. (2010). Customer Satisfaction and Customer Loyalty Measurement In Settings: An Empirical Analysis. Tourism and Hospitality Management, 2(2), 125-137
McShane, S. L., & Von Glinow, M. A. (2011). Organizational behavior (5th ed.). NewYork, NY; McGraw-Hill
Riadh, L. (2012). The lodging quality index: An independent assessment of validity and dimensions. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 24(4),
-652. [DOI: 10.1108/09596111211217914].
