ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความเสี่ยงองค์กรกับการวัดผลองค์กรแบบสมดุลของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความเสี่ยงองค์กรกับการวัดผลองค์กรแบบสมดุลของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แบบสอบถามงานวิจัยถูกจัดส่งไปยังผู้บริหารระดับสูงหรือหัวหน้า/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการบริหารความเสี่ยงของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 454 บริษัท ได้รับแบบสอบถามที่ถูกต้องและสมบูรณ์กลับคืนมาจำนวน 180 ฉบับและถือเป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา การวิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่าการบริหารความเสี่ยงองค์กรกับการวัดผลองค์กรแบบสมดุลมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Article Details
บทความจะต้องผ่านการพิจารณายอมรับให้ตีพิมพ์ได้โดยกองบรรณาธิการของวารสารการจัดการ คณะวิทยาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง และได้รับการตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ(Peer review) และผู้เขียนบทความต้องปรับปรุงตามข้อเสนอแนะหากมีก่อนตีพิมพ์ บทความที่ไม่ผ่านการพิจารณา กองบรรณาธิการจะแจ้งให้ทราบผลการพิจารณา แต่จะไม่ส่งต้นฉบับคืนผู้เขียน
วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งฉบับพิมพ์และฉบับออนไลน์ เราอนุญาตให้นำบทความไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ ภายใต้ขอบเขตของกฏหมายลิขสิทธิ์
References
กรไชย พรลภัสรชกร. (2560). การวัดผลการดำเนินงานเชิงกลยุทธ์และความสำเร็จของกิจการของบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย: วิธีการทางการบัญชีบริหาร, จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 39(154), 1-29.
กิตติพงศ์ จิรวัสวงศ์. (2558). การบริหารความเสี่ยงกับระบบบริหารคุณภาพ. Productivity World 20, 116.
เจน จันทรสุภาเสน. (2557). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์กับประสิทธิผลของธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 2(2),
-131.
จิตอุษา ขันทอง, กัลยกิตติ์ กรีติอังกูร. (2560). การกำกับดูแลกิจการและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ, 8(2), 42-54.
จุฑามน สิทธิผลวินัชกุล. (2561). แนวทางการบริหารความเสี่ยงองค์กร. วารสารวิชาชีพบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 14(12), 111-124.
ชุลีกร นวลสมศรี และสุทธิศักดิ์ จันทวงษ์โส. (2560). การประเมินความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายใต้มาตรฐาน ISO27001:2013 กรณีศึกษาขององค์กรด้านการบินแห่งหนึ่ง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 17(4), 1-11.
ณญาดา สุขอนันตธรรม. (2558). การกำกับดูแลกิจการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจของนักลงทุนสถาบัน และผลตอบแทนจากนักลงทุนสถาบันที่ส่งผลต่อมูลค่ากิจการ ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.(2560). หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555. [ออนไลน์]. สืบค้นค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2557, จาก www.set.or.th.
ธีระ เทิดพุทธธรรม, สุรีย์ กาญจนวงศ์ และไพศาล จันทรังษี. (2562). ตัวกำหนดการกำกับดูแลกิจการที่ดีที่มีต่อผลการดำเนินงานการบริหารด้านการเงินของบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 25(2), 27-35.
ปาณัท เงาฉาย. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความมีชื่อเสียงของเอสซีจี ตามความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียวารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา. 5(1), 21-43.
พรธิดา สีคำ, จีรพงษ์ จันทร์งาม. (2561). อิทธิพลของกระบวนการตรวจสอบภายในและการบริหารความเสี่ยงที่มีต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 24(4), 540-547.
มโนชัย สุดจิตร. (2559). การนำการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์การมาสนับสนุนการการบริหารจัดการคุณภาพภาครัฐ. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 6(1) 1-18.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร.(2556). กรอบการบริหารความเสี่ยงขององค์กร. วารสารการบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 36(139), 35-47.
สภาวิชาชีพบัญชี .(2560). กรอบการควบคุมภายในแบบบูรณาการ. กรุงเทพ ฯ: แอคทีฟพริ้นท์.
สุรเดช จองวรรณศิริ, วิชิต อู่อ้น. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ของนักลงทุนบุคคล. วารสารมนุษย์ศาสตร์ สังคม ศิลปะมหาวิทยาลัยศิลปกร,9(3).
อัจฉรา จันทร์ฉาย. (2550). คู่มือการวางแผนกลยุทธ์และการจัดทำ BSC: สู่ความเป็นเลิศทางธุรกิจ (Balanced Scorecard) (พิมพ์ครั้งที่ 10 ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัจฉราภรณ์ ทวะชารี. (2561). ผลกระทบของสมรรถนะของระบบสารสนเทศทางการบัญชีสมัยใหม่ที่มีต่อความสำเร็จขององค์กรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 5(2), 267-278.
อรวรรณ เชื้อเมืองพาน. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความเสี่ยงและประสิทธิภาพการดำเนินงานของ
บริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมและก่อสร้างหมวดพัฒนา
อสังหาริมทรัพย์.วารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 1(1), 33-39.
อัญชลี พิพัฒนเสริญ, ศิลปะพร ศรีจั่นเพชร. (2560). การตอบสนองของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกับ
ธรรมาธิบาลคุณภาพกำไรและผู้สอบบัญชี. วารสารวิชาชีพบัญชี, 13(40), 22-31.
Aaker, A., Kumar, V., & Day, S. (2001). Marketing Reserarch (7th ed.). New York : John Wiley &
Sons.
Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision Making (4th ed.) New York : John Wiley & Sons.
Hair, F., Black, C, Babin, J., Alderson, E., & Tatham, L.(2006). Multivariate Data Analysis.(6th ed.) New Jersey : Pearson.
Jokipii, A. (2010). Determinants and Consequences of Internal Control in Firm: A Contingency Theory Based Analysis. Journal of Management Governance, 14, 115-144.
Laisasikorn, K., & Rompho, N. (2014). A Study of the Relationship between a Successful Enterprise Risk Management System, a Performance Measurement System and the Financial Performance of Thai Listed Company. Journal of Applied Business and Economics, 16(2),
-92.
Leech, L., Barret, C., & Morgan, A. (2005). SPSS for Intermediate Statistics Use and Interpretation. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum.
Mihaela, D., & Lulian, V. (2012). Internal Control and the Impact on Corporate Governance, in Romanian Listed Companies. Journal of Eastern Europe Research in Business & Economics, 1-10.
Nunnally, C., & Bernstein, H. (1994). Psychological Theory. New York, NY : MacGraw-Hill.