ความสามารถในการแข่งขันตู้เย็น ตู้แช่แข็ง และเครื่องอุปกรณ์อื่นๆ สำหรับทำความเย็น หรือทำให้เย็นจนแข็งของประเทศไทย ด้วยการทำแผนที่ผลิตภัณฑ์

Main Article Content

ธานินทร์ ไชยเยชน์
ปนัดดา อ่ำใจ
วชิราภรณ์ สาดท่าโพ
กฤษฎา ธนานุวัฒนกูล

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันผลิตภัณฑ์ตู้เย็น ตู้แช่แข็ง และเครื่องอุปกรณ์อื่นๆ สำหรับทำความเย็นหรือทำให้เย็นจนแข็งของไทยเมื่อเทียบกับคู่แข่งขันหลัก ได้แก่ จีนและสหรัฐอเมริกา ในการส่งออกไปยังตลาดโลก ญี่ปุ่น และเวียดนาม ด้วยการทำแผนที่ผลิตภัณฑ์ โดยใช้ดัชนีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏแบบปกติ (Normalized Revealed comparative advantage, NRCA) และดัชนีดุลการค้า (Trade Balance Index, TBI) ซึ่งการวิเคราะห์ใช้ข้อมูลทุติยภูมิจำแนกตามระบบพิกัดศุลกากรแบบฮาโมไนซ์ (HS code 8418) ในช่วงระหว่างปีพ.ศ.2550-2559 ผลการศึกษา พบว่า ไทยเป็นผู้ส่งออกสุทธิและมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกไปยังตลาดโลก ญี่ปุ่น และเวียดนาม ส่วนจีนเป็นผู้ส่งออกสุทธิและมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกไปยังตลาดโลก และญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม แม้จีนเป็นผู้ส่งออกสุทธิ แต่มีความเสียเปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกไปยังเวียดนาม สำหรับสหรัฐอเมริกา ในภาพรวมเป็นผู้นำเข้าสุทธิและมีความเสียเปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกไปยังทั้งตลาดโลก ญี่ปุ่น และเวียดนาม ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า แม้ไทยมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกผลิตภัณฑ์ตู้เย็น ตู้แช่แข็งฯ ไปยังตลาดโลก ประเทศญี่ปุ่น และประเทศเวียดนาม แต่เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขัน ผู้ผลิต ผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์ตู้เย็น ตู้แช่แข็งฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของไทยควรร่วมมือกันเพื่อหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์ตู้เย็น ตู้แช่แข็งฯ

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

ธานินทร์ ไชยเยชน์, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

ปนัดดา อ่ำใจ, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

วชิราภรณ์ สาดท่าโพ, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

กฤษฎา ธนานุวัฒนกูล, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

  

References

ดวงรัตน์ ประจักษ์ศิลป์ไทย. (2558).การส่งออกของไทยในปัจจุบัน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2561, จาก https://library2. parliament.go.th/ebook/content-issue/2558/hi2558-043.pdf.

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2561). การค้าระหว่างประเทศของญี่ปุ่น เดือนมกราคม-สิงหาคม ของปี 2559 และแนวโน้มเศรษฐกิจ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2561, จากhttps://aec.ditp.go.th/ditp_web61/article_sub_view.php?filename=contents_attach/229460/229460.pdf&title=229460&cate=402&d=0.

ศูนย์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. (2562). ผลิตภัณฑ์ตู้เย็นปี 2019. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 จาก http://eiu.thaieei.com/ProductProfileDetail.aspx?gid=14&y=2019&m=12.

สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ. (2561). ภาพรวมอุตสาหกรรมส่งออกสินค้าไทยไปเวียดนาม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2561, จาก https://www.ditp.go.th/ditp_web61/article_sub_view.php? Filename =con tents_attach/236187/236187.pdf&title=236187&cate=1005&d=0.

Ahmad, N., Qayum, A., & Iqbal, A. (2017). Evolving Patterns and Empirical Distribution of Normalized Revealed Comparative Advantage: A SAARC Countries Analysis. Journal of Applied Economics and Business Research, 7(1), 59–82.

Astrini, E. W. & Az Zakiyyah, N. A. (2018). Comparative Advantage Measurement in ASEAN’s Ten Leading Export Commodities: A Case Study of ASEAN-5. Journal Pendidikan Bisni dan Ekonomi, 4(1), 22–37.

Balassa, B. (1965). Trade Liberalization and Revealed Comparative Advantage. The Manchester School of Economics and Social Studies, 33(2), 99–123.

Bojnec, S. & Ferto, I. (2018). Drivers of the Duration of Comparative Advantage in the European Union’s Agri-food Exports. Agricultural Economics (Czech Republic), 64(2), 51–60.

Chaudhry, S. & Negi, Y. S. (2017). Export Competitiveness of Tea Industry: An Analysis of Major Tea Producing Countries. Journal of Arts, Science & Commerce, 8(4), 24–30.

Dalum, B., Laursen, K., & Villumsen, G. (1998). Structural Change in OECD Export Specialization Patterns: De-Specialization and Stickiness. International Review of Applied Economics, 12(3), 423–443.

Deb, K. & Bodhisattva, S. (2017). On Empirical Distribution of RCA Indices. IIM Kozhikode Society & Management Review, 6(1), 23–41.

Ishchukova, N. & Luboš, S. (2014). Revealed Comparative Advantage: Products Mapping of the Russian Agricultural Exports in Relation to Individual Regions. Acta Sci.Pol. Oeconomia 13(1), 45–61.

Lafay, G. (1992). The Measurement of Revealed Comparative Advantages. In: M.G. Dagenais & P.A. Muet (Eds.). International Trade Modeling. Chapman & Hill, London.

Laursen, K. (1998). Revealed Comparative Advantage and the Alternatives as Measures of International Specialization. DRUID Working Paper, 98–30.

Permatasari, I, D., Wilantari, R. N., & Lestari, E. K. (2019). The Dynamics of Changing Comparative Advantage in ASEAN-4: Flying Geese Model. Media Trend, 14(1), 33–40.

ShiratUllah, M. & Kazuo, I. (2012). Dynamics of Comparative Advantage and Export Potentials in Bangladesh. The Ritsumeikan Economic Review, 61(4), 1–14.

Topcu, B. A., & Sarigul, S. S. (2015). Comparative Advantage and the Product Mapping of Exporting Sectors in Turkey. The Journal of Academic Social Science, 18(3), 330–348.

Varshini, N. M. & Manonmani, M. (2019). Pattern of Trade and Trade Advantage in Pharmaceutical Industry in India. Journal of International Economics, 10(1), 50–60.

Widodo, T. (2008). Dynamic Changes in Comparative Advantage: Japan Flying Geese Model and Its Implications for China. Journal of Chinese Economic and Foreign Trade Studies, 1(3), 200–213.

Yu, R., Cai, J., & Leung, P.S. (2009). The Normalized Revealed Comparative Advantage Index. Annals of Regional Science, 43(1), 267–282.