Cultural Tourism Management According to the Way of Life of People in the Community
Management of Cultural Tourist According to the Away of Life of People in the Community
Abstract
Cultural tourism management is considered as an alternative to enhance the resource potential that exists in the community to add more value by promoting and providing opportunities for people in the community to be a part in expressing common ownership of resources, to lead to the development and conservation of ancient sites, religion, including cultural traditions to remain along with the people and the community.
This article aims to present principles of cultural tourism management, the way of life of people in the community, participation in the management of cultural tourist attractions and the role of people in the community towards cultural tourism management.
Downloads
Article Details
How to Cite
Section
Academic Articles
Seksan Sonwa, 0875581372
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสกสรรค์ สนวา
สังกัดสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะนิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
113 หมู่ 12 ต.เกาะแก้ว อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45120
Email: seksan@reru.c.th Tel. 087-558-1372
ประวัติการศึกษา
ปร.ด.
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2562
รป.ม.
การจัดการองค์การ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
(โครงการทุนยกเว้นค่าธรรมเนียมการศึกษา)
2552
รบ.
การบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (เกียรตินิยมอันดับ 2)
2549
หนังสือ/ตำรา
เสกสรรค์ สนวา. (2557). รวมบทสะท้อนคิด : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
เสกสรรค์ สนวา. (2560). หลักในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ว่าด้วยมิติเชิงพุทธ มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม มิติสุขภาพ มิติการศึกษา และมิติทางการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.
ศักดิ์สิทธิ์ ฆารเลิศ สุนทรชัย ชอบยศ ไททัศน์ มาลา จตุรงค์ ศรีสุธรรม และ เสกสรรค์ สนวา. (2560). การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทยในบริบทอาเซียน: รวมบทความวิชาการศิษย์เก่า เพื่อเป็นเกียรติแด่วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.
งานวิจัย
เสกสรรค์ สนวา ก้องเกียรติ สุขเกษม ปรมัตถ์ โพดาพล และคณะ (2557). การศึกษาศักยภาพ สภาพปัญญาและความต้องการของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลเสลภูมิ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด.
เสกสรรค์ สนวา และคณะ. (2553). การศึกษาศักยภาพ สภาพปัญญาและความต้องการของประชาชนในเขตอำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด.
วิไลลักษณ์ ขาวสะอาด เสกสรรค์ สนวา ริยา เด็ดขาด และคณะ. (2557). การทำปะชาคมหมู่บ้าน. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด.
เสกสรรค์ สนวา และคณะ. (2553). การศึกษาศักยภาพ สภาพปัญญาและความต้องการของประชาชนในเขตอำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด.
เสกสรรค์ สนวา ศักดิ์สิทธิ์ ฆารเลิศ สมใจ ภูมิพันธ์ และคณะ (2554). การศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการของเทศบาลตำบลผือ อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด.
เสกสรรค์ สนวา และคณะ. (2554). การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคมโดยการขับเคลื่อนเพื่อระดมความคิดเห็นแบบมีส่วนร่วม กรณีศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด. (ทุนสนับสนุนจากสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
เสกสรรค์ สนวา และคณะ. (2553). ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตำบลโพนทอง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด. (ทุนสนับสนุนจากเทศบาลตำบลโพนทอง)
เสกสรรค์ สนวา.(2554). การประเมินโครงการเรียนรู้สิทธิชุมชนสู่ความเข้มแข็ง. กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองจังหวัดร้อยเอ็ด. (ทุนสนับสนุนจากสภาพัฒนาการเมือง)
บทความตีพิมพ์วารสารกลุ่ม 1
เสกสรรค์ สนวา ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี จินตกานต์ สุธรรมดี และ สุพัฒนา ศรีบุตรดี. (กรกฎาคม – ธันวาคม,2561). คุณลักษณะของอาจารย์มืออาชีพด้านรัฐประศาสนศาสตร์ในศตวรรษที่ 21.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 20( 2): 339 – 358.
Chai Samoraphum, Patcharin Chokamnuay, Athimart Poempoon, Surasak Chamaram, Seksan Sonwa. (กันยายน – ตุลาคม,2561). The Potential Development of Local Communities in Surin Province According to the Thailand 4.0 National Policy. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 20( พิเศษ): 89 -98.
เสกสรรค์ สนวา. (กันยายน-ธันวาคม, 2561). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน 5 มิติ.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. 13( 3): 503 -513.
จินตกานด์ สุธรรมดี ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และเสกสรรค์ สนวา (มกราคม – มิถุนายน, 2561). รูปแบบการขัดเกลาทางสังคมเพื่อพัฒนาจิตพฤติกรรมเด็กและเยาวชนในจังหวัดชัยภูมิ.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 20(1): 67 – 79.
เสกสรรค์ สนวา ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และวิไลลักษณ์ ขาวสอาด. (กันยายน – ตุลาคม,2561). คุณลักษณะของผู้นำองค์การภาครัฐสมัยใหม่.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 20(พิเศษ): 399 -411.
Proceeding
Chai Samoraphum, Patcharin Chokamnuay, Athimart Poempoon, Surasak Chamaram, Seksan Sonwa. The Potential Development of Local Communities in Surin Province According to the Thailand 4.0 National Policy. The 1st National and International Conference on Humanities and Social Sciences 1st HUNIC Conference 2018 “Human-Societies: Innovate Locally, Impact Globally through the King’s Philosophy” ระหว่างวันที่ 14 -15 กันยายน 2561 ณ อาคารล้านช้าง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.เสกสรรค์ สนวา ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และวิไลลักษณ์ ขาวสอาด. คุณลักษณะของผู้นำองค์การภาครัฐสมัยใหม่. การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 1 “มนุษย์-สังคม : นวัตกรรมการพัฒนาท้องถิ่นสู่สากล ตามศาสตร์พระราชา ระหว่างวันที่ 14 -15 กันยายน 2561 ณ อาคารล้านช้าง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
ประสบการณ์บรรยายพิเศษ
ผู้ทรงคุณวุฒิบรรยายพิเศษ รายวิชาปรัชญาและแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน รหัสวิชา 02190611 ให้แก่นิสิตปริญญาเอกสาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2562 (เลขที่ ศธ. 0513.20503/0687)
ผู้ทรงคุณวุฒิในการสนทนากลุ่ม วิทยานิพนธ์เรื่อง รูปแบบการพัฒนาสมรถนะของบุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (เลขที่ ม.น.ภ. (ว) 876/25