การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร สำนักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • เฉลิมศักดิ์ บุตรพวง อาจารย์สาขาภาษาและวัฒนธรรมลาว หลักสูตรภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2024.63

คำสำคัญ:

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, วิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร, สำนักศึกษาทั่วไป

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร สำนักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 6 ห้อง รวมทั้งสิ้น 390 คน (2) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร สำนักศึกษาทั่วไป  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภายใต้หลักสูตรปรับปรุง 2566 และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นกลุ่มตัวอย่าง นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 6 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 390 คน โดยอาศัยวิธีการเลือกแบบเจาะจงโดยวิธีการวิจัยแบบ One Group Pretest - Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) บทเรียนรายวิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร จํานวน 6 หน่วยการเรียนรู้ ในระยะเวลา12 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนและการอ่าน (RUBIC SCORE) โดยการให้คะแนนคุณภาพงานในรูปแบบของในรูปของตัวเลข โดยกำหนดค่าคะแนน 4 คือคะแนนสูงสุด

         ผลการวิจัยพบว่า 1)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร สำนักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 6 ห้อง รวมทั้งสิ้น 390 คน พบว่า ได้กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีความสอดคล้องเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้มีประสิทธิภาพเท่ากับ80/80 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 6 ห้องเรียน โดยใช้บทเรียนจํานวน 6 หน่วยการเรียนรู้ ในระยะเวลา12 ชั่วโมง พัฒนาขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Downloads

Download data is not yet available.

References

บุญชม ศรีสะอาด. (2545) วิธีการสร้างสถิติสำหรับการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ:

สุวีริยาสาส์น.

ชนิกา คำพุฒ. (2545). การศึกษาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีนวิชาเอกภาษาไทยชั้นปีที่4

สถาบันชน ชาติยูนานสาธารณรัฐประชาชาชนจีน. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและ การสอนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พรรณี โรจนเบญจกุล, ศรีปริญญา ธูปกระจ่าง และชาญเดช เจริญวิริยะกุล. (2561). ปัจจัยที่มีผล

ต่อประสิทธิผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา. วารสารสมาคม

นักวิจัย.

วรรณสิริ ธุระแพง. (2564). การพัฒนากิจกรรมการฝึกอบรมโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันผ่าน

ระบบสังคมออนไลน์สำหรับธุรกิจเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านคลังสินค้าและพฤติกรรมการมี

ส่วนร่วมของพนักงานในองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร. [วิทยานิพนธ์ ศษ.ม.]

นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สงัดอุทรานันท์.(2532). พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: มิตรสยาม.

พิชิต โสภากันต์ (2552). การรับรองผลงานของนักศึกษาในการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็น

ศูนย์กลาง สําหรับเก็บรวบรวมใน portfolio. [วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์

มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์] มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.อัมราภรณ์ หนูยอด และณัฐกร หิรัญโท. (2561). การศึกษาผลการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารด้วยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน

สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษคณะครุศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. Journal of Education KHON KAENUNIVERSITY, 40(1), 60-72.

Bloom Benjamin S. (1964). Taxonomy of Educational Objectives : The

Classification of Educational Goals. Handbook ll Affective Domain.

London : Longman.

Caine, R. and Caine, G. (2013). 12 Principles for brain – based learning. 1989.

October 9.

Gagne, R.M. 1977. The Conditions of Learning and Theory of Instruction. New

York : Holt Rinchert and Winstin.

Master Plan on ASEAN Connectivity. (2011). Jakarta: ASEAN Secretariat.

Retrievedfromhttp://www.aseansec.org/wp-

content/uploads/2013/06/MPAC.pdf

Taba, H. (1962). Curriculum development: Theory and practice. New York: Brace

and World.Tyler.

R. W. (1949). Basic principles of curriculumand instruction.Chicago: The

University of Chicago Press.

Jensen, E. (2000). Brain – based learning. The United States of America, The Brain

Store Publishing.

Wiggins, G., & McTighe, J. (1998). Understanding by design .Alexandria, VA:

Association for Supervision and Curriculum Development.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

บุตรพวง เ. (2024). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร สำนักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(3), 251–264. https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2024.63