ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างของบุคลากร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครพนม

ผู้แต่ง

  • ชณันรุจน์ เลิศอัครพัทธ์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
  • จารุกัญญา อุดานนท์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
  • กชกร เดชะคำภู คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2024.40

คำสำคัญ:

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน, การจัดซื้อจัดจ้าง, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครพนม และ 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครพนม โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนครพนม ทั้งหมด 104 แห่ง ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 337 คน โดยคำนวณจากสูตรของทาโร ยามาเน่ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมานโดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง

ผลการวิจัย พบว่า ระดับการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างอยู่ในระดับมาก ( = 3.92)  และระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก ( = 4.19) และปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครพนม พบว่า มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการผันแปรทั้งหมด 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวก 2) ด้านขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการในการปฏิบัติงาน 3) ด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน สามารถพยากรณ์ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครพนม ได้ร้อยละ 31.40 (R2 = 0.314) อย่างมีนับสำคัญที่ระดับ 0.05 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ เท่ากับ 0.560 (R = 0.560)

โดยแสดงสมการถอดถอยในรูปคะแนนดิบ และคะแนนมาตรฐาน  ดังนี้

Ŷ = 2.862 + 0.196(X1) + 0.262(X2) - 0.152(X3)

Ẑ = 0.330(X1) + 0.346(X2) - 0.213(X3)

Downloads

Download data is not yet available.

References

คำไพ ไชยนัด, ปาริชามารี เคน และประสิทธิ์ คชโคตร. (2557). แนวทางการแก้ปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคาของเทศบาลตำบล:กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์. 3(1) : 149-168.

เจตนา สายศรี, สามารถ อัยกร และจิตติ กิตติเลิศไพศาล (2566) ศึกษาอิทธิพลของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทํางานของข้าราชการและบุคลากรกรมการปกครอง ในจังหวัดสกลนคร. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 17(2) : 136-151.

เฉลิมชัย อุทการ. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ด้านการบริหารงานพัสดุกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานบุคลากรทางด้านพัสดุในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารการบัญชีและการจัดการ. 8 (3) : 24 – 33.

ชาตรี คนงานดี. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานภายใต้พระราชบัญญัติและระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ของผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. วารสารสารสนเทศ. 19(1) : 37-48.

ฐิญาภัสสร์ โคษา, ปิยกนิฏฐ์ โชติวนิช และอัยรดา พรเจริญ. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านพัสดุของศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 3. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 16(2) : 9-23.

ทัศนีย์ เสียงดัง. (2560). กลยุทธ์การบริหารงานพัสดุที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2550). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพฯ :

วีอินเตอร์ พริ้นท์.

ธาริณี อภัยโรจน์. (2553). การศึกษาสมรรถนะหลักเพื่อการพัฒนาบุคลากร : กรณีศึกษาสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

นครพนม. (2566). แผนพัฒนาจังหวัดนครพนม พ.ศ. 2566 - 2570. นครพนม : สำนักงานจังหวัดนครพนม

ฟิลลิปส์ จิระประยุต. (2556). การนําเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในหน่วยธุรกิจน้ำมันบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เยาวรักษ์ ฉัตรวิไล, ละมัย ร่มเย็น และจิตติ กิตติเลิศไพศาล. (2561). วารสารบัณฑิตศึกษา. 15(71) : 46-56.

รัตนา อาสาทำ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุในมหาวิทยาลัย

ราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

ราชกิจานุเบกษา. (2560). พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560. https://www.prakanedu.go.th/wp-content/uploads/2018/06/ %E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B860.pdf

ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และ อัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2562). สถิติสำหรับการวิจัยและเทคนิคการใช้ SPSS. ครั้งพิมพ์ที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

วรีลักษณ์ วรรณวิจิตร. (2551). ความพึงพอใจต่อการบริหารงานคลังและพัสดุ

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วันทนีย์ แสนภักดี, พรทิพย์ วีระสวัสดิ์ และธิดา พาหอม. (2553). การจัดการพัสดุและสำนักงาน. กรุงเทพฯ : ธรรมกมลการพิมพ์.

วิษณุกรณ์ โคตมี, สามารถ อัยกร และจิตติ กิตติเลิศไพศาล. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของเทศบาลตำบลในเขตจังหวัดบึงกาฬ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 19(87) : 85-93.

สามารถ อัยกร. (2563). อิทธิพลของสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา. 14(1) : 170-184.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2560). คู่มือการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.

สุทธิคุณ วิริยะกุล. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานปลัด กระทรวงกระทรวงการต่างประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุนิสา ปิยะภาโส, เจษฏา นกน้อย และสัญชัย ลั้งแท้กุล. (2561). ความรูความเขาใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจาง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของบุคลากร: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. วารสารเศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 10(1) :

-45.

สุพิศ ขำพงษ์ไผ่. (2567). ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานภายใต้พระราชบัญญัติและระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานพัสดุสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม. 4(1) : 14-26.

เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาคธุรกิจในยุคการเปลี่ยนแปลง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 6(1) : 1-16.

อัครเดช ไม่จันทร์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อระสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน กลุ่มอุตสาหกรรมติดตั้งเครื่องจักรสานารผลิตในจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเสงขลานครินทร์.

Brightson, B.J. (2022). A Critical Review of Competency Modeling Theory: Quantitative Exploration of an HR Competency Model. Dissertation

Cromwell, S.E., & Kolb, J.A. (2004). An Examination of Work-Environment Support Factors Affecting Transfer of Supervisory Skills Training to the Workplace. Human Resource Development Quarterly. 15(4) : 449–471.

Cronbach, L.J. (1970). Essentials of psychological testing. 3 rd ed. New York: Harper & Row.

Gebreyesus, S.A. (2022). The Role of Auditors' Competency in Public Expenditure Management the case of Ethiopia's Ministry of Finance and Public Procurement and Property Administration Agency. Journal of Economic and Social Development (JESD) – Resilient Society. 9(2) : 53-59.

Maesschalck, J. (2004). The Impact of new Public Management Reforms on public sevants ethics: towards a theory. Public Administration. 82(2) : 465–489

Ţicu, D. (2021). New tendencies in public administration: from the new public management (NPM) and new governance (NG) to e-government. MATEC Web of Conferences. 342 : 08002

Uktam, K., & Guzaloy, K. (2022). Assessing the effectiveness of human resource management system in public administration. Inderscience Research. 3(6) : 349-354.

Yamane, T. (1973). Statistics an introductory analysis. New York : Harper & Row.

Zhihua, Z. (2023). The HRM Model Based on Competency Model in the Context of New Age Intelligence. Wireless Communications and Mobile Computing. 23 : 1-13.

Zoder, N. E. (2021). The case for diversity and inclusion in your workplace. Leadership Excellence. 38(2) : 75–78.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-08-2024

How to Cite

เลิศอัครพัทธ์ ช., อุดานนท์ จ., & เดชะคำภู ก. (2024). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างของบุคลากร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครพนม. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(2), 285–304. https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2024.40