สมรรถนะของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม

ผู้แต่ง

  • กนิษฐา แสงผา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
  • จารุกัญญา อุดานนท์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
  • กชกร เดชะคำภู คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2024.38

คำสำคัญ:

สมรรถนะ, สมรรถนะบุคลากร, องค์การบริหารส่วนจังหวัด, นครพนม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม 2) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนมจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ประชากร คือ บุคลากรสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม จำนวน 299 คน และได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา โดยคำนวณจากสูตรของ Yamane ได้จำนวน 172 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ใช้สถิติ t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว

ผลการวิจัย พบว่า

1) ระดับสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( =3.87)

         2) เปรียบเทียบสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนมจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ระดับการศึกษา อายุการทำงาน ตำแหน่งสายงาน มีสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Downloads

Download data is not yet available.

References

ชัยวุฒิ เทโพธิ์ และพงษ์เสฐียร เหลืองอลงกต. (2560). แนวทางการส่งเสริมสมรรถนะที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. 11(1) : 135-150.

ทิวาพร พรหมจอม, ชาติชัย อุดมกิจมงคล และสัญญาศรณ์ สวัสดิ์ไธสง. (2561). ประสิทธิผลการปฏิบัติตามสมรรถนะหลักของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 15(71) : 97-106.

ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2555). การบริหารราชการไทย. เชียงใหม่ : คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2546). ทิศทางการปกครองท้องถิ่นไทยและต่างประเทศเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน.

เบญญาภา เอกวัตร และพิษณุ เฉลิมวัฒน์. (2556). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 5(1) : 292-306.

พฤษพงษ์ ฤทธิโคตร, เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร และยุภาพร ยุภาศ. (2560). ความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานบุคคลเทศบาลเมืองมหาสารคามอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 11(3) : 343-352

ไพลิน วารีขันธุ์, สิรินดา กมลเขต และปาริชา มารี เคน. (2561). แนวทางการพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะของพนักงานเทศบาลตําบล ในเขตอําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 12(3) : 233-241.

รมิดา ชาธิรัตน์. (2560). สมรรถนะหลักการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

วุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์, โญธิกา ผลาเลิศ และพรทิพย์ คำฟัก. (2561). การประเมินสมรรถนะหลักของบุคลากรภาครัฐที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. 5(1) : 208-239.

ศศิธร ศรีอินทร์ และชยุต ภวภานันท์กุล. (2562). การศึกษาระดับสมรรถนะบุคลากรเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ที่ 6 ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึงสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์. 7(1) : 82-95.

ศศิธร ศรีอินทร์ และชยุตภวภานันท์กุล. (2562). การศึกษาระดับความส าคัญของสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. ICMSIT 2019: 6th International Conference on Management Science, Innovation, and Technology 2019 Faculty of Management Science, Suan Sunandha Rajabhat University. 404-414.

สุภาภรณ์ ประทุมชัน. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการมุ่งเน้นสมรรถนะหลักกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อรพรรณ ผิวอ่อนดี, บรรพต กิติสุนทร และมนูญ จันทร์สมบูรณ์. (2562). สมรรถนะการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาล เทศบาลตำบลนครชัยศรี อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น. 3(3) : 29-38.

Daly, P., Ninglekhu, S., Hollenbach, P., Barenstein, J.D., & Nguyen, D. (2017) Situating local stakeholders within national disaster governance structures: rebuilding urban neighborhoods following the 2015 Nepal earthquake. Environ Urban. 29(2) : 403–424.

Leamvijarn, S., and Atthakorn, S. (2018). Human Resource Management Plan and Human Resource Development Plan :The Guideline of Method to Improve Higher Educational Institution in Thailand. Journal of Research and Development Institute, Rajabhat Maha Sarakham University. 5(1) :

-358.

Miller, M., & Douglass, M. (2016) Introduction: decentralizing disaster governance in urbanizing Asia. Habitat International. 52 : 1–4.

Ulrich, D., & Dulebohn, J.H. (2015). Are we there yet? What's next for HR? Human Resource Management Review. 25(2) : 188–204.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-08-2024

How to Cite

แสงผา ก., อุดานนท์ จ., & เดชะคำภู ก. (2024). สมรรถนะของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(2), 249–268. https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2024.38

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)

หมวดหมู่