การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมผ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางของอาจารย์ต่างชาติชาวเอเชียกับนักศึกษาไทยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
DOI:
https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2024.23คำสำคัญ:
การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม, ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง, อาจารย์ต่างชาติชาวเอเชีย, นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, ภาษาและวัฒนธรรมบทคัดย่อ
แม้ว่าภาษาอังกฤษจะถูกใช้เป็นภาษากลางเพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันของคนจากหลายประเทศก็ตาม ยังคงมีปัจจัยทางวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาและการสื่อสารที่ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนและความขัดแย้ง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมของอาจารย์ต่างชาติชาวเอเชียกับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง 2) ศึกษาอุปสรรคและการแก้ไขปัญหาในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม และ 3) กำหนดแนวทางการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม รูปแบบของการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Method) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และข้อมูลเชิงปริมาณ (Qualitative Research) สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling: Whole Group Population) กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 4 คนเป็นอาจารย์ชาวเอเชีย เครื่องมือวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ข้อคำถามมี 3 ด้าน คือ 1) ด้านข้อมูลทั่วไปและความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรม 2) ด้านอุปสรรคและการแก้ปัญหาที่เกิดจากอิทธิพลของความแตกต่างทางวัฒนธรรม และ 3) ด้านแนวทางการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม เก็บข้อมูลระหว่างภาคการการศึกษาที่ 1-2 ปีการศึกษา 2566 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) สถิติที่ใช้ คือ ความถี่และร้อยละ (Frequency and Percentage)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมที่หลากหลายเป็นปัจจัยก่อให้เกิดอุปสรรคในการสื่อสาร 2) อุปสรรคหลักเกิดจากความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของนักศึกษาและการรับรู้ของอาจารย์ และปัญหาทั้งหมดอาจารย์สามารถแก้ไขปัญหาได้ 3) แนวทางในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม มีดังนี้ 2.1) การแสดงออกถึงความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรม 2.2) การตอบสนองที่แสดงออกทางภาษาทั้งวัจนและอวัจนภาษาในเชิงบวก 2.3) การแสดงออกถึงความยืดหยุ่นและการปรับตนเอง 2.4) การแสดงออกถึงการให้เกียรติและการเปิดใจ และ 2.5) การแสดงออกถึงความอดทนและความเห็นอกเห็นใจ
Downloads
References
เมตตา วิวัฒนานุกูล. (2548). การสื่อสารต่างวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Anderson, Janis F. & Robert Powell. (1991). Intercultural communication and the classroom. In Samovar, Larry A. and Richard E. Porter, eds. Intercultural Communication: A Reader. Belmont, California: Wardworth.
Bennett, M. J. (2004). Becoming interculturally competent. In J. Wurzel (Ed.). Toward multiculturalism: A reader in multicultural education. Newton: Intercultural Resource Corporation.
Chen, G. M., & Starosta, W. J. (2000). Foundations of intercultural communication. MA: Allyn & Bacon Inc.
Gudykunst, W. B., & Ting-Toomey, S. (1988). Culture and interpersonal communication. CA: Sage Publications Inc.
Hall, E. T. (1959). The Silent Language. New York: Anchor Books Doubleday & Company Inc.
Hofstede, G. (2001). Culture's Consequences: Comparing Values, Behaviors, Institutions, and Organizations Across Nations. CA: Sage Publications Inc.
Hymes, D.H. (1972). On Communicative Competence. In Pride, J.B., & Holmes, J.(Eds.). Sociolinguistics. Baltimore, USA: Penguin Educaiton, Penguin Books Ltd.
Kim, Y.Y. (2001). Becoming Intercultural: An Integrative Theory of Communication and Cross-Cultural Adaptation. CA: Sage Publications Inc.
Lukitasari, R., Wulandani, N. L. K. L., & Putra, I. M. A. P. (2024). Cross-Cultural Communication between Local People and Foreign Tourists in Bongan Tourist Village, Bali, Indonesia. International Journal of Glocal Tourism. 5(1) : 65-74.
Martin, J. N., & Nakayama, T. K. (2018). Intercultural Communication in Contexts. New York: McGraw-Hill Education.
Ruben, B. D. (1977). Guidelines for Cross-cultural Communication Effectiveness. Group & Organization Studies. 2(4) : 470-479.
Samovar, L. A., Porter, R. E., & McDaniel, E. R. (2014). Intercultural Communication: A Reader. CA: Cengage Learning.
Sahadevan, Pavol & Sumangala, Mukthy. (2021). Effective Cross-Cultural Communication for International Business. Shanlax International Journal of Management. 8(4) : 24-33.
Selmer, Jan. (2007). Which Is Easier, Adjusting to a Similar or to a Dissimilar Culture? International Journal of Cross Cultural Management. 7(2) : 185-201.
Shodieva, M. (2023). Understanding Sociolinguistic Approach in the English Classroom. Modern Science and Research. 2(10) : 64-68.
Thomas, J. (1983). Cross-Cultural Pragmatic Failure. Applied Linguistics. 4 (2) : 91-112.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.