วิถีชีวิตและการปรับตัวของนักศึกษาชนเผ่าในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยครูปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ผู้แต่ง

  • คำแหวน สิทธิราช นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • รัตนะ ปัญญาภา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี https://orcid.org/0000-0001-7801-9340
  • ผศ.ดร.ไพศาล พากเพียร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.32

คำสำคัญ:

วิถีชีวิต, ชนเผ่า, การปรับตัว

บทคัดย่อ

 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิถีชีวิตของนักศึกษาชนเผ่า ในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยครูปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว                      2) เพื่อศึกษาวิธีการปรับตัวในการเรียนรู้ของนักศึกษาชนเผ่า ในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยครูปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาชนเผ่า ในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยครูปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 86 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้ง คือแบบสอบถามซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ตอ น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) วิถีชีวิตของนักศึกษาชนเผ่า ในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยครูปากเซ แขวงจำปาสักสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่ศึกษา โดยภาพรวม และในแต่ละด้านอยู่ในระดับมาก ( = 4.01) ด้านครอบครัว ( = 4.04)   ด้านสังคม ( = 4.02) และ ด้านวัฒนธรรม ( = 3.96) และ 2) วิธีการปรับตัวในการเรียนรู้ของนักศึกษาชนเผ่า ในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยครูปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.04) ด้านกลุ่มเพื่อน ( = 4.19) ด้านครูผู้สอน ( = 4.06) ด้านการเรียน ( = 4.04) ด้านกิจกรรม ( = 4.01) ด้านสภาพแวดล้อม ( = 3.96)

Downloads

Download data is not yet available.

References

กมลทิพย์ รักเกียรติยศ, ฐิตินันทน์ ผิวนิล, ธนัชพร นามวัฒน์ และสุนทรารัตน์ เขื่อนควบ. (2560). การปรับตัวทางวัฒนธรรม การเรียนรู้ และการสื่อสารของนักศึกษา จีนในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 36(2) : 60-72.

กรรณิการ์ แสนสุภา, เอื้อทิพย์ คงกระพันธ์, อุมาภรณ์ สุขารมณ์ และผกาวรรณ นันทะเสน. (2563). การปรับตัวของนักศึกษาในสถานการณ์โควิด-19. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 6(2) : 83-97.

ดวงแข วิทยาสุนทรวงศ์. (2541). ผลของกลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนาการปรับตัวด้านการเรียนของนักศึกษา พยาบาลชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

นันทนพ เข็มเพชร. (2561). ความสามารถในการปรับตัวของนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารการเมืองการปกครอง. 8(2) : 188-199.

นันทพร ศรีสุทธะ. (2544). วิถีชีวิตชุมชนกับการเกิดโรคเบาหวาน กรณีศึกษาชุมชนบ้านจัว ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง. การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นิรมล สุวรรณโคตร. (2533). การปรับตัวของนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์.

พรวิภา เหาตะวานิช, อรัญญา ตุ้ยคัมภีร์ และสุภาพรรณ โคตรจรัส. (2556). การปรับตัวทาง วัฒนธรรมของผู้ใช้แรงงานไทยย้ายถิ่น : การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารวิจัย มข. 1(1) : 14-27.

พระมหามนตรี สามารถไทย. (2548). การปรับตัวของพระนิสิตระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในส่วนกลาง. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2537). รายงานการวิจัยเรื่องนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริรัตน์ แอดสกุล. (2556). ความรู้เบื้องต้นทางสังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภวัฒน์ เอมโอช. (2539). หลักการสอน. จันทบุรี : สถาบันราชภัฏรำไพพรรณี.

สำรวย ประโพธิ์ศรี. (2544). ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการปรับตัวด้านการเรียนในระบบไตรภาคของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุภาณี เจียมศักดิ์. (2543). พฤติกรรมการปรับตัวในการศึกษาของนิสิตวิชาเอกพลศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุริยัน อ้นทองทิม, ภูกิจ เล้าจีรัณกุล, ศศิวิมล พจน์พาณิชพงศ์ และชลิตตาภรณ์ ดวงติ๊บ. (2560). การปรับตัวของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 สถาบันอุดมศึกษาภายในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 23(1) : 18-25.

สุวรรณี จันทะดารา. (2554). การพัฒนาการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ มอญ-เขมรกรณีศึกษาที่ราบอละเวน ลาวตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อมรรัตน์ หอมชื่น (2548). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการปรับตัวของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียนบริหารธุรกิจและพณิชยการ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Feldman K. A. and Newcomb T. M. (1973). The Impact of College on Students. San Francisco: Jossey. Inc..

Kalvero Oberg. (1960). Cultural Shock: Adjustment to New Cultural Environments. Journal indexing and metrics. 7(4) : 248-249.

Krejcie, R.V., and Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3) : 607-610.

Roy and Andrew. (1999). The Roy’s Adaptation Model. Stamford : Appleton & Lange.

Williamson, E.G. (1950). Counseling Adolescents. New York: McGraw-Hill Co.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-07-2023

How to Cite

สิทธิราช ค., ปัญญาภา ร., & พากเพียร ไ. (2023). วิถีชีวิตและการปรับตัวของนักศึกษาชนเผ่าในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยครูปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(2), 187–204. https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.32