การศึกษาองค์ความรู้ในการรักษาโรคนิ้วล็อกที่ปรากฏในตำราการแพทย์แผนไทย

ผู้แต่ง

  • ปิณิดา ถนอมศักดิ์ วิทยาลัยการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • ผกามาศ คำเสือ วิทยาลัยการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • มะลิวัลย์ ปารีย์ วิทยาลัยการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • สุวศิน พลนรัตน์ วิทยาลัยการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.2

คำสำคัญ:

โรคนิ้วล็อก, ตำราแพทย์แผนไทย, การแพทย์แผนไทย

บทคัดย่อ

         บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาองค์ความรู้ในการรักษาโรคนิ้วล็อกที่ปรากฏในตำราการแพทย์แผนไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษารวบรวมองค์ความรู้โรคนิ้วล็อกจากเอกสารตำรารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประมวลความรู้เกี่ยวกับโรคนิ้วล็อก การสนทนากลุ่มจากอาจารย์แพทย์แผนไทย วิเคราะห์และสรุปผลการศึกษา พบว่า ในตำราดั้งเดิมของการแพทย์แผนไทยไม่ได้มีการกล่าวไว้อย่างชัดเจน มีเพียงการกล่าวถึงอาการของธาตุพิการ แต่ปรากฏข้อมูลเกี่ยวกับโรคนิ้วล็อกในตำราที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนด้านหัตถเวชในปัจจุบัน ซึ่งมีข้อมูลประกอบไปด้วย นิยามความหมาย ลักษณะอาการ สาเหตุการเกิดโรค การตรวจวินิจฉัยโรค แนวทางและวิธีการรักษา และคำแนะนำในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วย บูรณาการสู่แนวเวชปฏิบัติการรักษาโรคนิ้วล็อกทางการแพทย์แผนไทยของวิทยาลัยการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์เป็นข้อมูลแนวทางในการเรียนการสอนและฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาการแพทย์แผนไทยต่อไปทำให้บัณฑิตแพทย์แผนไทยประกอบวิชาชีพรับใช้สังคมได้จริง เป็นทางเลือกในการรักษาโรคนิ้วล็อกให้แก่ประชาชนได้ในยุคปัจจุบัน

Downloads

Download data is not yet available.

References

กนกอร เพียรสูงเนิน. (2562). การศึกษาเส้นประธานสิบ กรณีเส้นกาลทารี. วิทยานิพนธ์การแพทย์แผนไทยมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. กองการประกอบโรคศิลปะ. (2549ก). ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเวชกรรม เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษัทไทภูมิ พับลิชชิ่ง จำกัด.

_______. (2549ข). ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเวชกรรม เล่ม 2. กรุงเทพฯ : บริษัทไทภูมิ พับลิชชิ่ง จำกัด.

_______. (2549ค). ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเวชกรรม เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บริษัทไทภูมิ พับลิชชิ่ง จำกัด.

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. (2550) หนังสือพจนานุกรม ศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถานกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. กรุงเทพฯ : กิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

กรมศิลปากร. (2542ก). ตำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.

_______. (2542ข). ตำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.

_______. (2555). ตำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.

ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อำพัน กิตติขจร). (2504ก). คัมภีร์แพทย์แผนโบราณ เล่ม 1. พระนคร :` โรงพิมพ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์.

_______. (2504ข). คัมภีร์แพทย์แผนโบราณ เล่ม 2. พระนคร :` โรงพิมพ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์.

_______. (2504ค). คัมภีร์แพทย์แผนโบราณ เล่ม 3. พระนคร :` โรงพิมพ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์.

คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว. (2542). แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.

คัญฑมารา สิทธิไกรพงษ์ และคณะ. (2564). ประสิทธิผลเบื้องต้นของการนวดไทยแบบราชสำนักในการรักษาโรคนิ้วล็อก:การศึกษานำร่อง. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. 19(1) : 189-199.

จิรายุ ชาติสุวรรณ และคณะ. (2565ม). อัตลักษณ์ของการแพทย์แผนไทยในสังคมไทย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 9(7) : 58-71.

พระยาพิศณุประสาทเวช. (2451). แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจำรูญถนนอัษฎางค์.

_______. (2451). แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจำรูญถนนอัษฎางค์.

_______. (2543). ตำราเวชศึกษา เล่ม 1,2,3 คู่มือของหมอและพยาบาลไข้. กรุงเทพฯ : บริษัทสามเจริญพาณิชย์.

พรนิภา สิทธิสระดู่ และคณะ. (2564). การศึกษาความแตกต่างในการรักษาโรคกรดไหลย้อนของการแพทย์แผนปัจจุบันกับการแพทย์แผนไทย. วารสารคุรุศาสตร์ปริทรรน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 8(2) : 317-327.

มะลิวัลย์ ปารีย์. (2558). การศึกษาและพัฒนากระบวนการตรวจวินิจฉัยโรคของการแพทย์แผนไทย ให้ร่วมสมัยกรณีศึกษาโรคอัมพาตติดขัดเฉพาะที่และโรคเรื้อรั้งอื่นๆ จำนวน 12 อาการ. วิทยานิพนธ์การแพทย์แผนไทยมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

มูลนิธิการแพทย์แผนไทยพัฒนา. (2550). คู่มือการนวดรักษาโรคแบบราชสำนัก. กรุงเทพฯ : บริษัท สามเจริญพาณิชย์.

มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิม อายุรเวทวิทยาลัย. (2548). หัตถเวชกรรมแผนไทย (นวดแบบราชสำนัก). กรุงเทพฯ : บริษัท พิฆเนศ พริ้นติ้ง เซ็นเตอร์ จำกัด.

มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา. (2559). ตำราการนวดไทย เล่ม1. พิมพ์ครั้งที่ 5. สมุทรสาคร : พิมพ์ดี.

รำแพน พรเทพเกษมสันต์. (2556). กายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยาของมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร.

โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร. (2504ก). ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1. มปท.

_______. (2504ข). ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. มปท.

_______. (2504ค). ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 3. มปท.

_______. (2537). ตำราหมอนวดวัดโพธิ์ จารึกวัดพระเชตุพน. กรุงเทพฯ : นำอักษรการพิมพ์.

วิไล ชินธเทศ และคณะ. (2539). กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เฟื่องฟ้า.

สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. (2553). ตำราการตรวจรักษาโรคทั่วไป 2. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.

สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมกรมควบคุมโรคกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2560). สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม.

สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข กองกประกอบโรคศิลปะ. (2549). ตำรายาแพทย์แผนโบราณ สาขาเภสัชกรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-02-2023

How to Cite

ถนอมศักดิ์ ป., คำเสือ ผ., ปารีย์ ม., & พลนรัตน์ ส. (2023). การศึกษาองค์ความรู้ในการรักษาโรคนิ้วล็อกที่ปรากฏในตำราการแพทย์แผนไทย. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(1), 17–34. https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.2