การส่งเสริมความพร้อมด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมการเล่านิทาน โรงเรียนอนุบาลกว่างซี อำเภอชิงซิ่ว เมืองหนานหนิง ประเทศจีน

ผู้แต่ง

  • ฉ่ายหยี่ จ้าว นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม https://orcid.org/0009-0009-4056-2829
  • พีระพร รัตนเกียรติ อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม https://orcid.org/0009-0008-8095-116X

DOI:

https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275420

คำสำคัญ:

ความพร้อมด้านการเขียน; , เด็กปฐมวัย;, กิจกรรมการเล่านิทาน

บทคัดย่อ

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความพร้อมด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยนั้น เด็กควรเรียนรู้ทักษะการเขียนอย่างมีความสุขและสนุกสนาน การส่งเสริมทักษะการเขียนควรให้เป็นการเรียนรู้ตามธรรมชาติและต้องคำนึงถึงธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อเปรียบเทียบความพร้อมด้านการเขียนของปฐมวัยก่อนและหลังที่ได้รับการจัดกิจกรรมโดยการเล่านิทาน

ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยที่มีอายุในช่วงอายุ 5 – 6 ปี โรงเรียนอนุบาลกว่างซี อำเภอชิงซิ่ว เมืองหนานหนิง ปีการศึกษา 2566 จำนวน 15 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบประเมินความพร้อมด้านการเขียนของเด็กปฐมวัย แบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการควบคุมการเคลื่อนไหวประสานกับการมองเห็น และด้านการรับรู้ทิศทางการเขียนตัวอักษรจีน และแผนการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบหาค่า One group pretest-posttest design

References

ไพศาล วรคํา. (2562). การวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. ตักสิลาการพิมพ์.

กมล โพธิเย็น. (2564). Active Learning: การจัดการเรียนรู้ที่ตอบโจทย์การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 19(1),11-28.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2541). รายงานการวิจัยเรื่องการจัดการศึกษาสำหรับผู้ปกครองและสารสนเทศที่ผู้ปกครองเด็กอนุบาลต้องการวารสารการศึกษาปฐมวัย. สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

จารุณี ศรีเผือก. (2554). การเปรียบเทียบพฤติกรรมทางสังคมของเดกปฐมวัย ที่มีระดับความฉลาดทางอารมณ์ต่างกัน หลังการจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบภาพด้วยการตอบ คําถามและด้วยการแสดงบทบาทสมมติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ฐนัส มานุวงศ์. (2562). การจัดการเรียนการสอนเชิงรุกเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนนายร้อยตามแนวคิดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 6(1), 232-263.

ณัฏฐ์วัฒน์ อนันตะสุข. (2565). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. การศึกษาดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

นฤมล จิ๋วแพ (2549 ). ผลของการเล่านิทานประกอบภาพทีมีต่อพฤติกรรมความเอื้อเฟื้อของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. บริษัท สุวีริยาสาส์น จำกัด.

ประภัสสร บราวน์ และแสงสุรีย์ ดวงคําน้อย. (2564). การพัฒนาความสามารถในการพูดของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมการแสดงประกอบการเล่านิทาน. วารสารวิชาการและการวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(1), 194-206.

รัชชภา บุญเหมือน, บรรจง เจริญสุข และญาณิศา บุญจิตร์. (2565). การพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะการเขียนสำหรับเด็กปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลวิจิตรา อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี,

ราชบัณฑิตยสถาน (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตสถาน

ราชบัณฑิตสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตสถาน

วิสดอม เฮ้าส์ เอ็ดดูเคชั่น แอนด์ ทราเวล. (2564). ระบบการศึกษาจีน. Retrieved from: https://www.wisdomhouse.co.th/content/5263/ระบบการศึกษาจีน

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2560). การวัดและประเมินแนวใหม่ :เด็กปฐมวัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Arora, N. (2021). 8 Effective & Engaging Storytelling Techniques For Teachers. Retrieved on November 15,2022from: https://www.piggyride.com/blog/8-effective-engaging-storytelling-techniques-for-teachers/

Driscoll, M.P. (1994). Psychology of Learning for Instruction. Boston: Allyn and Bacon

John, M. 1995. Children’s Rights in a Free Market Culture, in S. Stephens (ed) Children and the Politics of Culture. Princeton: Princeton University Press.

Lewis, D. (2001). Reading Contemporary Picture Books: Picturing Text. London: Routledge.

Mccrimon, P.M.; & James, M. (1978). Writing with a purpose Shorted Boston: Houghton Mifflin.

Muryanti, E., & Herman, Y. (2016). Building Children's Critical Thinking by Puzzle Story Telling. In 3rd International Conference on Early Childhood Education (ICECE 2016) (pp. 147-151). Atlantis Press.

Singkaew, H., Chanagul, C., Tanam, Y., Ketnuti, K., & Phangkham, T. (2023). The Results of the Open-Ended Storytelling Activities with the R-C-A Question Techniques to Enhance Problem-Solving Skills of Preschool Children. Academic MCU Buriram Journal, 8(3), 1–13. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ambj/article/view/267738

Speech Station. (2565). สถานีฝึกพูด สหคลินิก. Retrieved from: https://web.facebook.com/photo.php?fbid=851432530107001&id=100057207859710&set=a.554894723094118&locale=th_TH&_rdc=1&_rdr

Sulzby, E. (1985). Children's emergent reading of favorite storybooks: A developmental study. Reading Research Quarterly, 20(4), 458–481. https://doi.org/10.1598/RRQ.20.4.4

Vygotsky, L.S. (1987). Thinking and Speech. In R. W. Rieber, & A. S. Carton (Eds.), The Collected Works of L. S. Vygotsky (Vol. 1), Problems of General Psychology (pp. 39-285). New York: Plenum Press. (Original Work Published 1934).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-07

How to Cite

จ้าว ฉ. ., & รัตนเกียรติ พ. . (2024). การส่งเสริมความพร้อมด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมการเล่านิทาน โรงเรียนอนุบาลกว่างซี อำเภอชิงซิ่ว เมืองหนานหนิง ประเทศจีน. Interdisciplinary Academic and Research Journal, 4(3), ุ669–680. https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275420