การสร้างแบบวัดทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ผู้แต่ง

  • แพรววา สนามน้อย ภาควิชาการประเมินและการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง https://orcid.org/0000-0002-7638-3138
  • กมลทิพย์ ศรีหาเศษ ภาควิชาการประเมินและการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง https://orcid.org/0000-0002-4381-6128
  • ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์ ภาควิชาการประเมินและการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง https://orcid.org/0000-0002-4874-2607

DOI:

https://doi.org/10.14456/iarj.2023.37

คำสำคัญ:

ทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศ; , การสร้างแบบวัดทักษะ; , คะแนนจุดตัด

บทคัดย่อ

การศึกษาทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศในงานวิจัยที่ผ่านมา ต่างมุ่งศึกษาในประเด็นของการพัฒนาทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศและระดับการรู้สารสนเทศ การศึกษาการรู้สารสนเทศยังขาดแบบวัดทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และคะแนนจุดตัด (Cutting score) ที่ใช้ในการพิจารณาระดับทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างแบบวัดทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศ และ 2) กำหนดคะแนนจุดตัดเพื่อใช้พิจารณาระดับทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 จำนวน 1,020 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้การวิจัย คือ แบบวัดทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบวัดทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศมีค่าความตรงร่วมสมัย เท่ากับ 0.28 ความเที่ยงเท่ากับ 0.87 ความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.25-0.87 และค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.19-0.47 และ 2) ภาพรวมการวัดทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศ ใช้เกณฑ์ผ่าน 60% มีนักเรียนผ่าน ร้อยละ 34.00 ส่วนรายทักษะด้านการเข้าถึงสารสนเทศ ใช้เกณฑ์ผ่าน 70% มีนักเรียนผ่าน ร้อยละ 18.00 ด้านการประเมินสารสนเทศ ใช้เกณฑ์ผ่าน 60% มีนักเรียนผ่านร้อยละ 44.00 และด้านทักษะการนำสารสนเทศไปใช้ ใช้เกณฑ์ผ่าน 60% มีนักเรียนผ่าน ร้อยละ 47.00

References

ญาดา ศรีอรุณ. (2558). การศึกษาบทบาทครูสังคมศึกษาที่มีต่อการเสริมสร้างการรู้สารสนเทศของนักเรียนมัธยมศึกษา. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 7(1), 147-160.

ณัฏฐภรณ์ เสารยะวิเศษ. (2562). รูปแบบการสอนการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย. วารสารจันทรเกษมสาร, 25(1), 128-124.

เดือนเพ็ญ หัสขันธ์. (2563). การรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 17(76), 238-244.

นฤมล ศิระวงษ์. (2561). การศึกษาทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศสำหรับนิสิตครู มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(29), 96-105.

ปาริชาต เสารยะวิเศษ. (2552). การพัฒนาการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับประถมศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2560). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท์.

ลัดดาวัลย์ อู่แสงทอง. (2562). การประเมินทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 12(1), 13-25.

วลัยลักษณ์ อมรสิริพงศ์. (2561). การรู้สารสนเทศของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 36(3), 40-63.

วัลลภา เฉลิมวงศาเวช. (2560). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของการรู้สารสนเทศของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเอกชน. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 16(2), 59-68.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมฤดี หัตถาพงษ์. (2547). การรู้สารสนเทศของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อนันศักดิ์ พวงอก. (2560). การพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคมมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2(1), 7-22.

อาชัญญา รัตนอุบล. (2550). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างการรู้สารสนเทศสำหรับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Angela, S. (2020). Historical development of definitions of information literacy: A literature review of selected resources. The Journal of Academic Librarianship, 46(2), 1-8.

Cheyvuth, S., May, K. J. & Jeffrey, S. C. (2020). Information literacy training effectiveness on Cambodia’s province-based undergraduates. Information literacy training effectiveness, 22(4), 263-280.

Danica, D., Bojana, B. P., Tomaz, B. & Andrej, S. (2020). Added value of secondary school education toward development of information literacy of adolescents. Library and Information Science Research, 42(2), 1-18.

Farhan, A., Gunilla, W., & Isto, H. (2020). The impact of workplace information literacy on organizational innovation: An empirical study. International Journal of Information Management, 51,1-12.

Manoj, K. V., & Ravi, S. (2021). Information Literacy Skills among the Masters’ Students of Social Sciences Departments of Mizoram University and Tezpur University: A Comparative Study. Journal of Library & Information Technology, 41(5), 374-384.

Musediq, T. B., Rafiat, B. B., & Aishat, T. A. (2021). Evaluating Information Literacy competence in the Use of Electronic Resources among Medical Students in University of Ilorin, Nigeria. University of Dar es Salaam Library Journal, 16(1), 131-148.

Reem, A. Z., (2021). The impact of media and information literacy on acquiring the critical thinking skill by the educational faculty’s students. Thinking Skills and Creativity, 39,1-7.

Stephanie, J. G., Sarah, L., & Kathy, C. A. (2021). Uncovering the information literacy skills of first-generation and provisionally admitted students. The Journal of Academic Librarianship, 47(1), 1-10.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-02-09

How to Cite

สนามน้อย แ. ., ศรีหาเศษ ก. ., & ทิพยกุลไพโรจน์ ด. . (2023). การสร้างแบบวัดทักษะความฉลาดรู้สารสนเทศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. Interdisciplinary Academic and Research Journal, 3(1), 543–552. https://doi.org/10.14456/iarj.2023.37