ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นต่อการดูแลตัวเองของผู้สูงวัย จังหวัดชายแดนใต้ ประเทศไทย
DOI:
https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277038คำสำคัญ:
ความคิดเห็น; , ผู้สูงอายุ; , การดูแลตนเอง;, จังหวัดชายแดนใต้ ประเทศไทยบทคัดย่อ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การดูแลตนเองของผู้สูงอายุมีความสำคัญ ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถดำเนินวิถีชีวิตที่ดีต่อสุขภาพ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ดูแลร่างกายเมื่อเจ็บป่วยได้ และดำเนินชีวิตประจำวันในบ้านของตนเองได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นต่อการดูแลตัวเองของผู้สูงวัย จังหวัดชายแดนใต้
ระเบียบวิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงปริมาณนี้ใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมโดยศูนย์ประสานงานวิชาการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุจังหวัดชายแดนภาคใต้ จากผู้สูงอายุจำนวน 271 คน จังหวัดปัตตานี ตัวแปรอิสระประกอบด้วยคุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ และ ภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรตามคือความคิดเห็น 4 ระดับ ต่อการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ สถิติเชิงพรรณนาใช้วิเคราะห์เบื้องต้นของตัวแปรต่าง ๆ การวิเคราะห์ปัจจัยใช้ลดจำนวนของตัวแปรตาม และใช้การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ
ผลการศึกษา: ตัวแปรตามจำแนกเป็น 3 กลุ่ม ประกอบ ความคิดเห็นเชิงบวกในการจัดการตนเอง การเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับสุขภาพ และ การทำในสิ่งที่มีความสุข ผู้สูงอายุที่สามารถเดินได้และอาศัยอยู่กับคู่สมรสหรือครอบครัว มีแนวโน้มจัดการตนเองเชิงบวกและการเตรียมสุขภาพที่ดีมากกว่าผู้ที่อยู่คนเดียวหรือแยกกันอยู่และไม่สามารถเดินได้ ผู้สูงอายุที่ไม่ได้ทำกิจกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและสามารถใช้ระบบขนส่งสาธารณะได้อย่างอิสระมีแนวโน้มที่จะทำสิ่งที่มีความสุขได้มากกว่าผู้ที่ไม่สามารถทำได้
สรุปผล: ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่กับครอบครัว สามารถเดินทางได้อย่างอิสระมีทัศนะคติที่ดีต่อการดูแลสุชภาพตนเอง ซึ่งผลการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลสำหรับการดูแลตนเองของผู้สูงอายุให้มีชีวิตที่ดีขึ้นในสถานการณ์สังคมในปัจจุบัน และเป็นข้อมูลให้ผู้ดูแลได้ส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ
References
Backman, K., & Hentinen, M. (2001). Factors associated with the self‐care of home‐dwelling elderly. Scandinavian Journal of Caring Sciences, 15(3), 195-202.
Cadmus, E.O., Adebusoye, L.A., & Owoaje, E.T. (2021). Attitude towards aging and perceived health status of community-dwelling older persons in a low resource setting: a rural-urban comparison. BMC geriatrics, 21(1), 1-11.
Ford, K., Jampaklay, A., & Chamratrithirong, A. (2021). A Multilevel Longitudinal Study of Individual, Household, and Village Factors Associated with Happiness Among Adults in the Southernmost Provinces of Thailand. Applied Research in Quality of Life, 17(3), 1459–1476. https://doi.org/10.1007/s11482-021-09973-z
Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E (2009). Multivariate Data Analysis. "Seventh". Prentice Hall, Upper Saddle River, New Jersey.
Hancock, N., Scanlan, J.N., Bundy, A.C., & Honey, A. (2019). Recovery Assessment Scale – Domains & Stages (RAS‐DS) Manual‐ Version 3. Sydney; University of Sydney.
National Statistical Office. (2007). Report on the 2007 survey of the older persons in Thailand. Bureau of Socio-Economic and Opinion 1, Bangkok.
Techataweewan, W., & Prasertsin, U. (2017). Development of digital literacy indicators for Thai undergraduate students using mixed method research. Kasetsart Journal of Social Sciences. 39 (2), 215-221. 10.1016/j.kjss.2017.07.001.
Räsänen, P., Kanste, O., Elo, S., & Kyngäs, H. (2014). Factors associated with the self-care of home-dwelling older people. Journal of Nursing Education and Practice, 4(8), 90-96. DOI: https://doi.org/10.5430/jnep.v4n8p90
Riebe, D., Blissmer, B.J., Greaney, M.L., Garber, C.E., Lees, F.D., & Clark, P.G. (2009). The relationship between obesity, physical activity, and physical function in older adults. Journal of Aging Health. 2009;21(8):1159–1178.
Sadegh, M., Moftakhari Rostamkhani, H., Gupta, H., Ragno, E., Mazdiyasni, O., Sanders, B., Matthew, R., & AghaKouchak, A. (2018). Multihazard Scenarios for Analysis of Compound Extreme Events. Geophysical Research Letters. 45 (2), 5470-5480. https://doi.org/10.1029/2018GL077317
Sinsirimana, S. (2003). Health promotion experiences Thai elders. Degree of Master Nursing Science in Nursing. Chulalongkorn University, Thailand.
TGRI: Institute for Population and Social Research, Mahidol University and Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2020). The situation of the Thai Elderly 2019. Printery Co., Nakorn Pathom.
Thanakwang, K., Isaramalai, S., & Hatthakit, U. (2014). Thai Cultural Understandings of Active Ageing from the Perspectives of Older Adults: A Qualitative Study. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 18(2), 152-165
Thanakwang, K., Soonthorndhada, K., & Mongkolprasoet, J. (2012). Perspectives on healthy aging among Thai elderly: A qualitative study. Nursing & Health Sciences, 14(4), 472–479. https://doi.org/10.1111/j.1442-2018.2012.00718.x
Tuna, H.D., Edeer, A.O., Malkoc, M., & Aksakoglu, G. (2009). Effect of age and physical activity level on functional fitness in older adults. European Review of Aging and Physical Activity, 6, 99–106.
United Nations. (2020). (2020). World Population Ageing 2019 (ST/ESA/SER.A/444). Department of Economic and Social Affairs, Population Division.
Yansopon, S. (2021). A Study of Health Behaviors of Pre-Aging Groups in Preparing for Entering an Aging Society of the 2nd Health Zone. Journal of Department of Health Service Support, 17(3), 56-68.
Yatniyom, P. (2004). Active aging attribution: a case study of elite Thai elderly. Master of Nursing Science, Thesis. Chulalongkon University.Thailand.
Zeleznik D. (2007). Self-care of the home-dwelling elderly people living in Slovenia. PhD thesis. University of Oulu, Department of Nursing and Health Administration. Retrieved from: http://herkules.oulu.fi/isbn9789514286377/isbn9789514286377.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Interdisciplinary Academic and Research Journal

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ในบทความใดๆ ใน Interdisciplinary Academic and Research Journal ยังคงเป็นของผู้เขียนภายใต้ ภายใต้ Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License การอนุญาตให้ใช้ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ของสิ่งพิมพ์ ผู้ใช้ใดๆ เพื่ออ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือลิงก์ไปยังบทความฉบับเต็ม รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำดัชนี ส่งต่อเป็นข้อมูลไปยังซอฟต์แวร์ หรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายอื่นใด แต่ห้ามนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือด้วยเจตนาที่จะเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจใดๆ