การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง: ประตูสู่ความเป็นเลิศของนักเรียนประถมศึกษา

ผู้แต่ง

  • worapol srithep -
  • ศราวุธ จงรักวิทย์

คำสำคัญ:

แนวคิดการคิดขั้นสูง, บริบทโรงเรียนประถมศึกษา, บทบาทผู้เกี่ยวข้อง, กระบวนการ BETHINK

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาผลการศึกษานำเสนอในรูปแบบกรอบการจัดการเรียนการสอนแบบ 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นตอนการระดมสมอง เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนมุมมองอย่างอิสระ 2) ขั้นการมีส่วนร่วมหรือการให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง 3) ขั้นการตั้งทฤษฎี เพื่อการอธิบายปรากฏการณ์หรือสถานการณ์ 4) ขั้นการตั้งสมมติฐานที่สามารถทดสอบได้ 5) ขั้นการสืบค้นข้อมูล การทดลอง การรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ 6) ขั้นการจดบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ และ 7) ขั้นการสรุปผล การวิเคราะห์ข้อมูลการยืนยันหรือปฏิเสธสมมติฐาน และการติดตามการประเมินผลการเรียนรู้ กระบวนการดังกล่าวทำให้เกิดการพัฒนาทักษะต่าง ๆ ของนักเรียน

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546.

ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2567

จาก http://academic.obec.go.th/node/43

ณรงค์ศักดิ์ หนูณรงค์. (2559). บทบาทของผู้ปกครองในการส่งเสริมการคิดขั้นสูงของนักเรียน. วารสารศึกษาศาสตร์, 27(2),

-31.

ดนุวัศ วิเศษสิงห์โต. (2561). การพัฒนาโรงเรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. วารสารวิชาการ, 21(1), 44-54.

ดวงกมล สินธุพงษ์. (2561). เทคนิคการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง. ภาพพิมพ์.

ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยเบื้องต้น. สุวีริยาสาส์น.

เยาวลักษณ์ อภิวันทนานนท์. (2559). กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดขั้นสูง. ดอกหญ้าวิชาการ.

รัตนา ดวงแก้ว. (2558). การบริหารการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาสู่การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน.

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วรลักษณ์ ชูกำเนิด. (2558). การพัฒนาการคิดขั้นสูงของนักเรียน.[สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. พิมพ์ดี.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษายุคใหม่. ไอเอ็ดสเตชั่น.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการประเมินผลการเรียนรู้. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์. (2544). หลักการสอนสำหรับพัฒนาการคิดขั้นสูง. ไทยวัฒนาพานิช.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง.

โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). แนวทางการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ระดับ

ประถมศึกษา. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2567จากhttps://www.doe.go.th/prd01/EnvironmentLearning

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แนวทางการพัฒนาการคิดขั้นสูงในการจัดการเรียนรู้.พริกหวานกราฟฟิค.

สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2558). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดขั้นสูง. ภาพพิมพ์.

สุวิทย์ มูลคำ. (2554). กลยุทธ์การสอนคิดขั้นสูง. ดวงกมลสมัย.

Ananiadou, K. & Claro, M. (2009). 21st century skills and competences for new millennium learners in

OECD countries. OECD Education Working Papers no.41.https://doi.org/10.1787/218525261154

Bloom, B.S., Engelhart, M.D., Furst, E.J., Hill, W.H. and Krathwohl, D.R. (1956) Taxonomy of Educational

Objectives: The Classification of Educational Goals. Handbook 1: Cognitive Domain. David McKay.

Cotton, K. (1991). Teaching thinking skills. North-west Regional Educational Laboratory, School

Improvement Research Series, 11.

Lubinski, D., & Benbow, C. P. (2000). States of excellence. American Psychologist,55(1), 137- 150.

https://doi.org/10.1037/0003-066X.55.1.137

Miri, B., David, B. C., & Uri, Z. (2007). Purposely teaching for the promotion of higher-order thinking

skills: A case of critical thinking. Research in science education, 37(4), 353-369.

https://doi.org/10.1007/s11165-006-9029-2

Piaget, J. (1972). Intellectual evolution from adolescence to adulthood. Human Development, 15(1), 1-12.

http://dx.doi.org/10.1159/000271225

Zohar, A., & Dori, Y. J. (2003). Higher order thinking skills and low-achieving students: Are they mutually

exclusive?.The journal of the learning sciences, 12(2), 145-181.https://doi.org/10.1207/S15327809J

LS1202_1

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

srithep, worapol, & จงรักวิทย์ ศ. . (2024). การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง: ประตูสู่ความเป็นเลิศของนักเรียนประถมศึกษา. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 18(2), 42–60. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/EDUCLoei/article/view/278068

ฉบับ

บท

บทความทางวิชาการ