ผลการจัดอบรมเชิงรุกเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านจิตวิทยาการศึกษาและทักษะ การให้คำปรึกษา สำหรับครูในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดพะเยา

ผู้แต่ง

  • นริศรา เสือคล้าย วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา
  • วิลาวัลย์ สมยาโรน วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา
  • ลำไย สีหามาตย์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • นรินธน์ นนทมาลย์ วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

คำสำคัญ:

การจัดอบรมเชิงรุก,, พัฒนาองค์ความรู้, จิตวิทยาการศึกษา, ทักษะการให้คำปรึกษา

บทคัดย่อ

การพัฒนาองค์ความรู้ด้านจิตวิทยาการศึกษาและทักษะการให้คำปรึกษาเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับครูในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ต้องได้รับการพัฒนา เพื่อนำไปใช้กับผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความรู้ด้านจิตวิทยาการศึกษาของครูระหว่างก่อนและหลังเข้ารับการอบรม 2) เปรียบเทียบทักษะการให้คำปรึกษาของครูระหว่างก่อนและหลังเข้ารับการอบรม และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของครูในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดพะเยา ที่เข้ารับการอบรมเชิงรุกในการพัฒนาองค์ความรู้ด้านจิตวิทยาการศึกษาและทักษะการให้คำปรึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดพะเยา จำนวน 40 คน ได้จากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ คู่มือการจัดอบรมเชิงรุก แบบทดสอบวัดความรู้พื้นฐานด้านจิตวิทยาการศึกษาแบบประเมินทักษะการให้คำปรึกษา และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระจากกัน

References

กรมส่งเสริมการเรียนรู้. (2566). อำนาจหน้าที่ กรมส่งเสริมการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2566, จาก

http://www.nfe.go.th/onie2019/

ชุมพล สุวิเชียร. (2561). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้รูปแบบ SANO Model สำหรับ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหนองโสนพิทยาคม. กลุ่มวิจัยและส่งเสริมการวิจัยทางการศึกษา สำนักพัฒนา

นวัตกรรมการจัดการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

นนทลี พรธาดาวิทย์. (2559). การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning. ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

มาลินี เลิศไธสง. (2561). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้ Active Learning สำหรับครูผู้สอนช่วง

ชั้นที่ 2 ในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 9(2), 242-255.

https://so01.tcithaijo.org/index.php/AJPU/article/view/133596/116981

สถาพร พฤฑฒิกุล. (2558). เอกสารประกอบการฝึกอบรม "คุณภาพผู้เรียน เกิดจากกระบวนการเรียนรู้" คณะเทคโนโลยี

การเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้วออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2566, จาก

http://km.buu.ac.th/article/frontend/article detail/141

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). คู่มือการประเมินกุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อ

การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา. โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580).

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579.

(พิมพ์ครั้งที่ 1). พริกหวานกราฟฟิค.

Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active Learning: Creative Excitement in the Classroom.

Washington, D.C.: School of Education and Human Development, George Washington University.

Edgar Dale. (1969). Audiovisual method in teaching. the Dryden Press.

Felder, R. & Brent, R. (1996). Navigating the Bumpy Road to Student-Centered Instruction.

Journal of College Teaching, 44(2), 43-47. DOI:10.1080/87567555.1996.9933425.

Silberman, M. (2005). 101 Ways to Make Training Active. (2nd edition). Hoboken: Pfeiffer.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

เสือคล้าย น. ., สมยาโรน ว. ., สีหามาตย์ ล., & นนทมาลย์ น. . (2024). ผลการจัดอบรมเชิงรุกเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านจิตวิทยาการศึกษาและทักษะ การให้คำปรึกษา สำหรับครูในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดพะเยา. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 18(2), 1–12. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/EDUCLoei/article/view/277711