การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสังเคราะห์งานวิจัยเพื่อให้ทราบ 1) ปัจจัยสำคัญในการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2) รูปแบบด้านการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ รายงานการวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องซึ่งเผยแพร่อยู่ในฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และผลงานวิจัยไทย ระหว่างปี 2549 – 2559 ใช้การสังเคราะห์งานวิจัยทั้งในเชิงคุณลักษณะและในเชิงปริมาณ
ผลการวิจัยพบว่า
- ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ 1) การให้การศึกษา 2) คุณสมบัติส่วนบุคคล/ลักษณะทางประชากร 3) ระดับการมีส่วนร่วมในชุมชน
- รูปแบบ ได้แก่ 1) การจัดการศึกษา 2) การอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน 3) การสร้างทัศนคติเชิงบวกของคนในชุมชนหรือองค์กร 4) การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
3.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มีดังนี้ 1) ควรมีการพัฒนาสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ในลักษณะต่างๆที่ตรงกับความต้องการจำเป็นของคนในชุมชน 2) ควรใช้การมีส่วนร่วมอย่างเป็นธรรมชาติตามบริบท 3) ควรให้ความรู้และสร้างทัศนคติที่ดีในการพัฒนาชุมชน 4) ควรสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน 5) หน่วยงานรัฐต้องให้การสนับสนุนชุมชนแต่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมมากกว่าสั่งการและให้งบประมาณเท่านั้น
Article Details
References
เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน
ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2552). การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษาไทย:การวิเคราะห์อภิมาน.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.กรุงเทพฯ
มาลินี กลางประพันธ์.(2549). ชีดีรอมโมเดลสำหรับสังคมแห่งการเรียนรู้:กรณีศึกษาอารายธรรมอียิปต์. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุมาลี สังข์ศรี.(2556). แนวทางการพัฒนาสังคมไทยให้ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้.วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 6(2),33-45
สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. (2554). อนาคตภาพรูปแบบสังคมแหงการเรียนรูเพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์เชิงบวกสำหรับชุมชน.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 11 2555 - 2559. สืบค้นเมือ กรกฎาคม 2559 จากhttps://www.nesdb.go.th.
อลันด์ คงไทย. (2558). วิถีปฏิบัติของผู้สอนในการจัดการสร้างความตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมแก่ผู้เรียนในสังคมแห่งการเรียนรู้.
ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
Areekul,C. (2013). Model Development for Strengthening Social Capital for Being a Sustainable Lifelong
Learning Society. (Unpublished doctoral Dissertation). Chulalongkorn Universit, Bangkok, Thailand.
[in Thai]
Charungkaittikul,S. (2011).The Scenario of a Learning Society Model Toward a Positive Paradigm Shift for
Community. (Unpublished doctoral Dissertation). Chulalongkorn Universit, Bangkok, Thailand. [in Thai]
Klangprapam,M. (2006). CD-Rom Model for Learning-based Society: A Case of Egypt Civilization. (Unpublished Master’s thesis). Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand. [in Thai]
Kongthai,A. (2015). Social Practices of a Teacher in Constructing Knowledge for Learners in Learning Society
Based on Constructivism Theory. (Unpublished doctoral Dissertation). Mae Fah Luang University,
Chiang Rai, Thailand. [in Thai]
Office of National Economic and Social Development Board. (2012).The Eleventh National Economic and
Social Development Plan No.11 (2012-2016). Retrived June, 2016, Fromhttps://www.nesdb.go.th. [in Thai]
Sungsri,S. (2013). A Guideline for Developing Thai Society to Be A Learning Society. Journal of Educational,
Sukhothai Thammathirat Open University, 6(2),33-45. [in Thai]
Viratchai,N. (2009). Research Synthesis in Quality Thai Education: Meta-Analysis. Office of the Education
Council, Ministry of Education, Bangkok, Thailand. [in Thai]