การออกแบบและการกำหนดค่าแบบสอบถามชนิดผู้ตอบอ่านและตอบเอง

Main Article Content

Wiriya Phokhwang-Just

Abstract

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนะวิธีการพัฒนา การออกแบบและการกำหนดค่าคะแนนของตัวเลือกของแบบสอบถามชนิดผู้ตอบอ่านและตอบแบบสอบถามเอง ในงานวิจัยแบบสำรวจส่วนใหญ่จะใช้แบบสอบถามและแบบสอบถามที่ใช้บ่อยคือแบบสอบถามชนิดผู้ตอบอ่านและตอบแบบสอบถามเองเพื่อลดความผิดพลาดจากการตอบแบบสอบถามและให้ได้ผลตามที่ผู้วิจัยต้องการที่จะถาม ผู้วิจัยหรือผู้พัฒนาแบบสอบถามควรคำนึงถึงลักษณะการสร้างและการออกแบบข้อคำถาม ข้อคำถามที่ดีควรสั้น เข้าใจง่าย ถามประเด็นเดียวในแต่ละข้อ ไม่ควรมีปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ นอกจากนี้ข้อคำถามที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ พฤติกรรมที่มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องต้องมีการใช้คำที่เหมาะสมในด้านเวลา ควรให้คำจำกัดความเหตุการณ์หรือสิ่งที่จะวัดก่อนข้อคำถามจริงในบางข้อคำถามที่ผู้วิจัยต้องการให้ผู้ตอบมีความเข้าใจตรงกันในสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการถาม เมื่อมีการใช้ตัวเลือก “ไม่มีความเห็น” ควรใช้ร่วมกับตัวเลือกที่มีค่ากลาง และตัวเลือกไม่มีความเห็นควรอยู่ด้านหลังสุดของตัวเลือกทั้งหมด นอกจากนี้ควรระวังในการใช้ข้อคำถามที่อ่อนไหวและคุกคามต่อผู้ตอบที่มีความแตกต่างตามวัฒนธรรมและความคิด

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic article)

References

Biemer, P. P., &Lyberg, L. E. (2003). Introduction to survey quality. Hoboken, New Jersey: John Wiley & Sons Publication.

Campanelli, P. C. (2005). Short course in questionnaire design.Unpublished manuscript, University of North Carolina at Chapel Hill, USA

Dillman, D. A, Smyth, J. D. & Christian, l. M. (2009). Internet, mail, and mixed-mode surveys: The tailored design method (3rd ed.). Hoboken, NJ: Wiley, 2009. 512 pp.

Dillman, D. A., &Tarnai, J. (2004). Mode effects of cognitively designed recall questions: A comparison of answers to telephone and mail surveys. In P. P. Biemer, R. M. Groves, L. E. Lyberg, N. A. Mathiowetz& S. Sudman (Eds.), Measurement errors in surveys (pp. 73-94). Hoboken, New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.

DeVellis, R. F (2012).Scale development: Theory and applications. Sage, Thousand Oaks, California.

Indhraratana, A.&Prajankett, O. (2016).The synthesis of the research reports of The Royal Thai Army Nursing College. Journal of The Royal Thai Army Nurses. Volume 17 No. 2 (May - Aug) 116-124.

อภิญญา อินทรรัตน์และองค์อร ประจันเขตต์ (2559) การ สังเคราะห์รายงานการวิจัยของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกวารสาร พยาบาลทหารบก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค.), 116-124.

Krosnick, J. A., &Fabrigar, L. R. (2012). Designing rating scales for effective measurement in surveys. In L. E. Lyberg, P. P. Biemer, M. Collins, E. D. Leeuw, C. Dippo, N. Schwarz & D. Trewin (Eds.), Survey measurement and process quality. New York: Wiley-International Publication.

Lessler, J. T., &Kalsbeek, W. D. (1992).Nonsampling Error in Survey. New York: John Wiley & Sons, Inc.

Lyberg, L. E., & Kasprzyk, D. (2011). Data collection methods and measurement error: An overview. In P. P. Biemer, R. M. Groves, N. A. Mathiowetz& S. Sudman (Eds.), Measurement errors in surveys. Hoboken, New Jersey: Jonh Wiley & Sons, Inc.

Mangione, T. W. (1995). Mail Surveys: Improving the Quality. Thousand Oaks, CA: SAGE Publications, Inc

Pedhazur,E.J.,Schmelkin,L.P.(1991). Measurement, design, and analysis: An integrated approach. New York: Psychology Press.