Tourism Impacts of Pop Culture through Series Taken in Chiang Mai

Main Article Content

Oratai Krutwaysho

Abstract

This research aims at classifying tourism impacts arising from pop culture through series taken in Chiangmai and proposing approaches to sustainable tourism impact management in correspond with the Sustainable Development Goals (SDGs). The research methodology was mixed methods, using both quantitative and qualitative techniques. The sampling populations were 380 local community representatives living around the areas where series were taken in Chiangmai, including nine in-depth interviews with direct stakeholders from the public and private sectors. The key findings highlighted that positive economic impacts included the generation of local incomes since there was an increase number of tourists in the areas where series were taken. Interestingly, the results also revealed that there were little negative economic impacts. For the socio-cultural impacts, the positives included better public relations for local heritage to be known to outsiders, whereas the negatives were contrastingly little. However, misunderstanding of local culture and heritage might occur in case there were misrepresentations. For environmental impacts, the positives were better infrastructure, superstructure and physical development. Nevertheless, measures to prevent the potential negatives such as litter, pollution and traffics must be taken. The research contributions were, in correspond with the SDGs, policy approaches to impact management from pop culture tourism. These were 1) the proactive policy by government to tackle potential impacts from pop culture tourism, 2) the encouragement of local involvement for tourism in the areas and 3) the role of the Tourism Authority of Thailand (TAT) to promote more of positive products and services of Pop culture tourism. Three further contributions were practical approaches which include 1) the necessity of film and series makers to accurately revise the series plays, scenes and clothing to meet the authenticity of local settings, 2) the role of the Provincial Culture Office to articulately revise the series contents before their approvals and 3) the series makers to pre-examine possible tourism impacts that are likely to take place in the local areas.      

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

Oratai Krutwaysho, Rajamangala University of Technology Lanna, Chiangmai

นางสาว อรไท ครุธเวโช, Ph.D.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

(D.O.B 03.07.1974)

สถานที่ทำงานปัจจุบัน:    สาขาวิชาการท่องเที่ยวและบริการ

คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  เชียงใหม่

                                           128 ถ.ห้วยแก้ว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300

                              โทรศัพท์. +66 64 5144198    Email: okrutwaysho@pkru.ac.th

 

 

ประวัติการศึกษา

2549   Ph.D. Tourism, Sheffield Hallam University, Sheffield, United Kingdom.

          (ทุนพัฒนาข้าราชการ)

2547     Postgraduate Certificate, Social Science Research Methods, Sheffield Hallam University, Sheffield, United Kingdom. (ทุนพัฒนาข้าราชการ)

2541   M.Sc Tourism Management, Sheffield Hallam University, Sheffield,  

          United Kingdom (ทุนรัฐบาลไทย)

2537   ศิลปศาสตร์บัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส วิชาโท ภาษาญี่ปุ่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

 

วสันต์ จันทร์ประสิทธิ์ และ อรไท ครุธเวโช. (2563). แนวทางการบริหารและสื่อสารตราสินค้า

แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดภุเก็ตให้เกิดคุณค่าตราสินค้าที่เพิ่มขึ้นในมุมมองนักท่องเที่ยวชาว

ยุโรป. วารสารการจัดการวลัยลักษณ์. 9 (3) (กรกฎาคม-กันยายน 2563).

อรไท ครุธเวโช และสุวณิช ชัยนาค. (2561).การท่องเที่ยวสีคราม (Blue Tourism) รูปแบบการ

ท่องเที่ยวใหม่เพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในประชาคมอาเซียน.วารสาร

วิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 13 (2). 139-169.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2561).การศึกษาสถาปัตยกรรมท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาการออกแบบทาง

กายภาพของธุรกิจสปา จังหวัดภูเก็ต. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. 16(2). 216-235.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2561).การพัฒนาแผนแม่บทการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดภูเก็ต.

วารสารวิชาสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4 (2).

206-230.

Krutwaysho, O and Bramwell, B. (2010). Tourism Policy Implementation and Society. Annals of

Tourism Research, 37(3): 670-691.

อรไท ครุธเวโช. (2551). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. วารสาร

การบริการและการท่องเที่ยวไทย. 3 (2):37-47.

 

งานวิจัยที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการต่างประเทศ

 

Janprasit, W. & Krutwaysho, O. (2019). Developing a Measurement of and Approaches to Brand Equity of Phuket, Thailand in the Perceptions of the European Market, papaer presented at the 2nd International Conference on Business, Management & Economics (ICBMECONF) 21-23 June 2019 Vienna, Austria.

Oratai Krutwaysho. (2016). Long Stay Tourism in the three Andaman Cluster: Potentials and

Approaches to Development. Paper presented at the 6th International Conference on Tourism (ICOT2016), Naples, Italy.

Oratai Krutwaysho. (2014). Agro-tourism Policies and Practices in Phuket, Thailand. Paper

presented at the 2nd Travel and Tourism Research Association (TTRA) conference,

Melbourne, Australia.  

Oratai Krutwaysho. (2013). Realising Community Based Tourism Development: Opportunities

and Barriers in Kuku Village, Phuket. Conference paper presented at the 19th APTA

conference, Bangkok, Thailand.  

Oratai Krutwaysho. (2012). Tourism Education in Phuket: A Developing World Perspective.

Conference paper presented at the ATHE conference, University of Cambridge,

Cambridge, UK.   

Oratai Krutwaysho and Yasuo Ohe. (2012). Green Tourism Policies and Practices in Japan, a

Case of Chiba. Conference paper presented at the 18th APTA conference, Taipei, Taiwan.  

 Oratai Krutwaysho. (2011). Tourism and Hospitality Education and Development in Thailand. Conference paper presented at the 2011 International Hospitality and Tourism Education Summit, Guangzhou, China on 11-13 May 2011.    

Oratai Krutwaysho. (2010). Community-Based Tourism in Paklok Village, Phuket: Potentials,

Lessons and Challenges. Conference paper presented at the 16th  APTA conference,

Macau, China.  

Oratai Krutwaysho. (2009). Tourism Boom and International Immigrants: Residents Attitudes in

Phuket. Conference paper presented at the 15th APTA conference, Incheon, South Korea.  

Oratai Krutwaysho. (2008). A University Curriculum for Tourism and Hospitality: Lessons

Learned in Phuket, Thailand. Conference paper, presented at the 14th APTA conference,

Bangkok, Thailand.

Oratai Krutwaysho. (2004). Implementing Tourism Policies and Regulations in Phuket, Thailand:

A Research Approach. Conference paper presented at the 10th APTA conference,

Nagasaki, Japan. Funded by Sheffield Hallam University, UK.

Oratai Krutwaysho. (2003). Obstacles to the implementation of Tourism Policies and Regulations

in Phuket, Thailand. Conference paper presented at Barcelona, Spain. Funded by

Sheffield Hallam University, UK.

 

งานวิจัยที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการในประเทศ

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2554). การบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านแขนน จังหวัดภูเก็ต. ใน มหาวิทยาลัยทักษิณ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14. สงขลา: ผู้แต่ง. 

อรไท ครุธเวโช (2552). การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. ใน มหาวิทยาลัยนเรศวร.การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: ผู้แต่ง.  

 

 

ตำราและเอกสารคำสอน

อรไท ครุธเวโช. (2562). การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว. คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

อรไท ครุธเวโช. (2562). การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน พิมพ์ครั้งที่ 2. คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

อรไท ครุธเวโช. (2562). สัมมนาเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ พิมพ์ครั้งที่ 2. คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

อรไท ครุธเวโช. (2562). การสำรวจและการวิจัยสำหรับการท่องเที่ยวและโรงแรม. คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

อรไท ครุธเวโช (2561) การบริหารท่าเรือและท่าเทียบเรือ. วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

อรไท ครุธเวโช (2561) สัมมนาการท่องเที่ยวและบริการ. วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

อรไท ครุธเวโช (2561) การจัดการธุรกิจนำเที่ยว พิมพ์ครั้งที่ 2. วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช (2560) การท่องเที่ยวทางทะเล. วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ มหาวิทยาลัย

ราชภัฏภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช (2560) นโยบายและการวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช (2552) การจัดการธุรกิจนำเที่ยว. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช (2551) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

 

งานวิจัยที่ดำเนินการแล้วเสร็จ

 

วสันต์ จันทร์ประสิทธิ์ และ อรไท ครุธเวโช. (2562). แนวทางการสื่อสารการตลาดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้จังหวัดภูเก็ตในฐานะที่เป็นสินค้าแหล่งท่องเที่ยว กรณีศึกษานักท่องเที่ยวยุโรป. ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2561) การพัฒนาแอปพลิเคชั่นเพื่อเมืองวิทยาการสร้างสรรค์ด้านอาหาร

จังหวัดภูเก็ต. สำนักงานจังหวัดภูเก็ต.  

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2560) การพัฒนาแผนแม่บทการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดภูเก็ต.

สำนักงานจังหวัดภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2559) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม บ้านแหลมตุ๊กแก

จังหวัดภูเก็ต.เทศบาลตำบลรัษฎา จังหวัดภูเก็ต.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2559) การท่องเที่ยวสีคราม (Blue tourism) รูปแบบการท่องเที่ยวใหม่

เพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในประชาคมอาเซียน.วช.

เกษรา ปัญญา อรไท ครุธเวโช และทรงเกียรติ ภาวดี (2556) การตลาดเว็ปไซต์เพื่อธุรกิจนำเที่ยว.วช.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2555) การท่องเที่ยวระยะยาวใน 3 จังหวัดอันดามัน.วช.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2554) การศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่นเพื่อพัฒนาการออกแบบ

ธุรกิจสปา ในจังหวัดภูเก็ต.สกอ.

Krutwaysho, O. and Ohe, Y. (2011). Green tourism policies and practices in Japan. The case of Chiba, Japan. Chiba, Japan, funded by the Japan Foundation.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2554) การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลิพอน และบ้านคอเอน องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2553) กลยุทธ์การตลาดสำหรับโรงแรมขนาดเล็ก. สกว.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2553) การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านกู้กู และบ้านบ่อแร่. องค์การ

บริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2552) แรงงานต่างด้าวในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต.สกว.

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2552) การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านป่าคลอก และบ้านแขนน.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2551) การสำรวจความต้องการการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรการจัดการ

ท่องเที่ยวนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2550) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

จังหวัดภูเก็ต.มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2550) การวิเคราะห์การพัฒนาหลักสูตรด้านการท่องเที่ยวในจังหวัด

ภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

Oratai Krutwaysho. (2006). Tourism policy implementation in the developing world: A case

study of Phuket, Thailand (Ph.D. Dissertation).

อรไท ครุธเวโช และคณะ (2544) การวิเคราะห์คุณสมบัติที่พึงประสงค์ของบุคลากรในอุตสาหกรรม

ท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาหลักสูตรด้านการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

สุวัตร วิรุฬสิงห์ และอรไท ครุธเวโช (2543) การศึกษาวิกฤตการเงินตามทฤษฎีเศรษฐกิจ

พอเพียง.วช.

Oratai Krutwaysho. (1997). A study of the role of the Castleton Parish Council and local

community in addressing tourism consequences in Castleton. (MS Thesis).

 

 

 

ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวารสารวิชาการ

ต่างประเทศ

2019  Journal of Hospitality and Tourism Insights (1)

2014  Journal of Sustainable Tourism (1)

2013  Journal of Sustainable Tourism (1)

2009  Journal of Sustainable Tourism (1)

ในประเทศ

วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยทักษิณ

 

Invited Keynote Speaker

2018

Keynote speaker on the topic of “Connecting Culture, Arts and Nature through Phuket Tourism Development,” at the 22nd Inter-Islands Policy (ITOP) Forum 2018, Penang , Malaysia, on 24-26 October 2018.    

2011

Keynote speaker on the topic of “Tourism and Hospitality Education in Thailand,” at the South China University of Technology, the 2011 International Hospitality and Tourism Education Summit, Guangzhou, China, on 11-13 May 2011.    

2009

Keynote speaker on the topic of “ Future Research of Andaman Areas”,

at Research Council, Bangkok, Thailand on 10 August 2009.

 

 

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต สาขาการบริการด้านการท่องเที่ยว PSU

มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขารัฐประศาสนศาสตร์ KKU

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขานิเทศศาสตร์ CU

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ RU

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต สาขาวิชาการจัดการ และสาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา PKRU

 

อาจารย์ที่ปรึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

ระดับปริญญาโท

2551 – 2552 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต สาขายุทธศาสตร์พัฒนา จบการศึกษาจำนวน 2 คน

2550 – 2552 มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จบการศึกษาจำนวน 8 คน

 

 

ระดับปริญญาเอก

2555 มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จบการศึกษาจำนวน 1 คน

 

 

งานที่ปรึกษากับหน่วยงานภายนอก

2558 - ปัจจุบัน โครงการศูนย์มรดกทางวัฒนธรรมชาวเลแหลมตุ๊กแก เทศบาลรัษฎา จังหวัดภูเก็ต

2554 - ปัจจุบัน โครงการ Love Home Project ตำบลเชิงทะเล เทศบาลตำบลเชิงทะเล จังหวัดภูเก็ต

2551 – 2554 โครงการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต

2549 การจัดการความรู้ด้านการท่องเที่ยว สำนักงานจังหวัดภูเก็ต

 

ทุนวิจัยต่างประเทศ

2554 ทุนวิจัยระยะสั้นประเทศญี่ปุ่น  Short-term Research Grantee under the Japan Foundation

Fellowship. (2 months in Japan) 

2552 ทุนวิจัยระยะสั้น ณ สหราชอาณาจักร Short-term Research Grantee at Sheffield Hallam

University under the Higher Commission on Education, Ministry of Education, Thailand. (2 months in the UK) 

2551 ทุนแลกเปลี่ยนนักวิจัยนักวิชาการ ณ สหราชอาณาจักร  Scholar Exchange at Sheffield

Hallam University under the Duo-Fellowship Project (EU) (2 months in the UK).

 

ประวัติการทำงาน

ปัจจุบัน    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม

กันยายน 2560 - มีนาคม 2561 รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

กันยายน 2557 - กันยายน 2560 รักษาการในตำแหน่งคณบดี วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

2556-2557 รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัย และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

2555-2556 รองผู้อำนวยการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

2549 – 2557 ประธานโปรแกรมวิชา อุตสาหกรรมท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย

ราชภัฏภูเก็ต

2554 – มีนาคม 2561 กรรมการสภามหาวิทยาลัย (ตัวแทนคณาจารย์) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

2557 – 2559 กรรมการสภาวิชาการ (ตัวแทนคณะวิทยาการจัดการ) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

2559 - ปัจจุบัน  กรรมการสภาวิชาการ (ตัวแทนวิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ) มหาวิทยาลัย

ราชภัฏภูเก็ต

2551 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8 สาขาการจัดการท่องเที่ยวและการโรงแรม

2541 – 2551 อาจารย์ระดับ 7 โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

2541 – 2544 ดีเจภาคภาษาอังกฤษ คลื่นวิทยุ 95 จังหวัดภูเก็ต

2541 – 2544 อาจารย์สอนภาษาอังกฤษ และภาษาญี่ปุ่น ณ สถาบันภาษานาว่า จังหวัดภูเก็ต

2537 – 2538 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายต่างประเทศ บริษัท Business Associate จังหวัดเชียงใหม่

 

คณะกรรมการระดับจังหวัด

คณะกรรมการ smart city จังหวัดภูเก็ต  

คณะกรรการ gastronomy จังหวัดภูเก็ต

คณะกรรมการ แผนยุทธศาสตร์ จังหวัดภูเก็ต

ล่ามภาษาอังกฤษ การประชุมกงสุลประจำจังหวัดภูเก็ต การประชุม ITOP Forum ประจำปี จังหวัดภูเก็ต

ประธานคณะกรรมการดำเนินงานแผนแม่บทการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดภูเก็ต

ประธานคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ Phuket Gastronomy Application เมืองวิทยาการอาหารสร้างสรรค์ จังหวัดภูเก็ต

 

ประสบการณ์งานบริหาร

รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 6 เดือน

ปฏิบัติราชการในตำแหน่งคณบดี วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ มหาวิทยาลัย

ราชภัฏภูเก็ต 3 ปี

รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัย และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 1 ปี

รองผู้อำนวยการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 1 ปี

ประธานโปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ 9 ปี

 

คณะกรรมการตาม พรบ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ

กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (ตัวแทนคณาจารย์) 6 ปี

กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (ตัวแทนคณะวิทยาการจัดการ) 2 ปี

กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (ตัวแทนคณะ/วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ) 2 ปี

กรรมการบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (ตัวแทนข้าราชการ) 4 ปี

กรรมการกองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 6 ปี

กรรมการกองทุนพัฒนาอาจารย์ และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 6 ปี

อนุกรรมการสภามหาวิทยาลัย ด้านยุทธศาสตร์ และการวางแผน 6 ปี

อนุกรรมการสภามหาวิทยาลัย ด้านวิจัย 6 ปี

อนุกรรมการสภามหาวิทยาลัย ด้านวิชาการและงานหลักสูตร 7 ปี

References

Academic Office, The Secretariat of the House of Representatives. (2018). kānthō̜ngthīeo Thai nai yuk dičhithan
[Thailand Tourism in the Digital Age], Retrieved October 20, 2019, from,
https://library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2561/sep2561-4.pdf
Buabangpru, P. (2018). nǣothāng kānčhatkān kānthō̜ngthīeo chœ̄ng Niwēt yāng yangyư̄n ʻutthayān hǣng chāt
khao khitchakūt čhangwat čhanthaburī [Guidelines for Management of Sustainable Eco tourism: A case
study of Khaokhitchakut National Park, Chantaburi Province], Rajabhat Rambhai Barni Research
Journal, 12 (2) May-August 2018,91-101.
Bupphēsanniwāt " khrō̜ng mư̄ang lāsut # bupphēsanniwāt tit sēn ʻandap nưng thawittœ̄ lōk pai lǣo
[Bupphesanniwat Series# Top rank in World Twitter]. (2018, March 8). Komchadluek, p. 10.
Chaipreechawit, T. (2017). ʻitthiphon khō̜ng watthanatham krasǣ niyom thī mī tō̜ kān bō̜riphōk ʻāhān khlư̄anthī
nai Krung Thēp Mahā Nakhō̜n. [An Influence of Popular Culture Toward Food Truck’s Consumption in
Bangkok]. Master’s Thesis. Thamasat University.
Cornwel-Smith, P. (2013). Very Thai: Everyday Popular Culture. (2nd ed.). Bangkok: River Books.
Department of Tourism (DoT). (2019). phāpphayon Thai [Thailand Film]. Retrieved August 8, 2019, from
http://www.thailandfilmoffice.org
Harrington, C.L. & Bielby, D.C. (2001). Popular Culture: Production and Consumption. Malden, Mass: Blackwell
Publisher Inc.
Inthanon, C., & Lersphoottharak, S. (2019). rūpbǣp kānčhatkān thurakit nawattakam hōmsatē nai chumchon
samrap nakthō̜ngthīeo. [The Management Model of Homestay Innovation Business in the Community
for Tourists]. Silpakorn University Journal, 39(6) Nov-Dec 2019,85-103.
Jantasena, C. (2017). kān wikhro̜ sēnthāng khō̜ng phonprayōt chāo ko̜ dai rap tō̜ kān sanapsanun phatthanākān
thō̜ngthīeo dōi withī samakān khrōngsāng bǣp kamlang sō̜ng nō̜i thīsut bāng sūan [The Path Analysis of
Islanders’ Benefit to Support for Tourism Development Using PLS-SEM], NIDA BUSINESS JOURNAL, 20,
54-89.
Mason, P. (2017). Geography of Tourism: Image, Impacts and Issues. Oxford: Goodfellow Publishers.
Mattra, C., & Buatham, O. (2017). nǣothāng kān songsœ̄m kānthō̜ngthīeo chœ̄ng phutsāsanā khō̜ng
phrabō̜rommathātnā dūna ʻamphœ̄ nādūna čhangwat Maha Sarakham. [The Promotion Guideline for
Buddhist Tourism Phra That Na dun, Nadun District, Maha Sarakham Province]. Chophayom Journal,
28(2) June-Oct 2017,57-63.
Mebua, S., Uejitmet, W., & Sabsin, W. (2017). kān plīanplǣng withī chīwit chumchon mūbān khīrī wong čhāk
kānthō̜ngthīeo. [Changes in the Way of Life and the Impact of Tourism on the Tourism on the local Way
of Kiriwong Life]. Narkbhut Partitat Journal Nakorn Sithamarat Rajabhat University, 9(1) Jan-June, 128-
139.
Ministry of Tourism and Sport (MoTS). (2015). yutthasāt kān thō̜ng thīeo Thai [Thailand Tourism Strategies].
Bangkok: MoTS.
Natan, T., & Wattanapinyo, A. (2019). phonkrathop čhāk kān prap tūa tō̜ kānthō̜ngthīeo khō̜ng chumchon
pakākēʻayō̜ bān mǣping ʻamphœ̄pāi čhangwat mǣhō̜ngsō̜n.[The Effect of Adapting to the Tourism of
Pga K’nyau Community Ban Mae Ping, Pai District, Maehongson Province]. Social Science Research and
Academic Journal, 14 (1) Jan-Apr, 121-134.
Ngamyingyong, N. & La-iard, S. (2017). nǣothāng kānphatthanā kānthō̜ngthīeo yāng yangyư̄n chumchon bō̜riwēn
rim fang khlō̜ng damnœ̄n sadūak nai čhangwat samut sākō̜n læ čhangwat rāt burī [Guidelines on
Sustainable Tourism Dvelopment at the Lakha Community on the Banks of Damnoensaduak Canal in
Samutsakhon and Ratchaburi Provinces]. Dusit Thani College Journal, 11(1), 149-166.
Palat krasūang thō̜ngthīeo sang trīamphrō̜m rō̜ng rap nakthō̜ngthīeo tām rō̜i bupphēsanniwāt [Permanent
Secretary urged for preparedness of Tourists to pathing the Bupphesanniwat Series]. (2018, March 20).
Thairath, p. 8.
Pongsakornrungsilp, P. (2017). khābō̜n fut pharin čhāk kān bō̜riphōk nai ʻutsāhakam thō̜ngthīeo khō̜ng lǣng
thō̜ngthīeo thāng thalē læ chāihāt nai phư̄nthī ʻamphœ̄ ko̜ samui čhangwat surātthānī. [Carbon
Footprints of the Consumption in Marine and Beach Destination: The Case of Koh Samui, Suratthanee].
Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(1) Jan-Apr 2017, 1087-1102.
Siriyuwasak, U. (2007). sư̄sānmūanchon bư̄angton sư̄mūanchon watthanatham læ sangkhom [Mass
Communication: Media, Culture and Society]. (2nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Storey, J. (2012). Culture and Popular Culture: An Introduction. (6th ed). London: Routledge.
Sumungkalo, P.M. (2017). kān plīanplǣng thāng sangkhom thī mī tō̜ withī chīwit chon phao lawā mū thī sipʻet
tambon pā pǣ ʻamphœ̄ mǣsarīang čhangwat mǣhō̜ngsō̜n [Social Change Affecting the Way of Life of
Lawa Ethnic Group, Moo 11, Papae Sub-District, Maesariang District, Maehongson Province]. Journal of
Buddhist Studies, 8 (2) July-Dec 2017, 57-68.
Somboonwong, A., Kaewmanee, P., & Autchariyapanitkul, K. (2018). kān wikhro̜ phonkrathop lon lai chœ̄ng
phư̄nthī khō̜ng kānthō̜ngthīeo thī mī tō̜ kān čhā ngō̜ngān nai prathēt Thai.[Spatial Spillover Effects
Analysis of Tourism on Employment in Thailand]. Journal of Economics ChiangMai University, 22(1) Jan-
Apr, 41-58.
Warakullawit, S. (2008). pathomnithēt ʻutsāhakam kānthō̜ngthīeo . [Orientation to Tourism Industry]. (4th ed).
Bangkok: Samlada.