อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การ และธรรมาภิบาลต่อประสิทธิผลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2
Main Article Content
Abstract
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การ ธรรมาภิบาล และประสิทธิผลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรง คือ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (0.06) ด้านวัฒนธรรมองค์การ (0.09) ด้านธรรมาภิบาล (0.89) ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางอ้อม คือ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (0.62) ด้านวัฒนธรรมองค์การ (0.29) และรูปแบบที่สร้างขึ้นประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ด้านวัฒนธรรมองค์การ ด้านธรรมาภิบาล และด้านประสิทธิผลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Chi-square = 4.72 df = 29 P-value = 0.99 RMSEA = 0.13 CN = 672.09 GFI = 0.99 AGFI = 0.96) และ 3) แนวทางพัฒนาด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การและธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วย พัฒนาด้านการกระตุ้นทางปัญญา ด้านวัฒนธรรมการปรับตัว ด้านวัฒนธรรมพันธกิจ ด้านหลักความรับผิดชอบและด้านหลักความคุ้มค่า โดยปัจจัยเชิงสาเหตุทั้ง 3 ปัจจัย สามารถอธิบายประสิทธิผลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ได้ร้อยละ 33.05
Article Details
References
เบญจ์ พรพลธรรม. (2557). การจัดการความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมในบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปัทมา จรูญโรจน์ ณ อยุธยา. (2556). ประสิทธิผลการจัดทำบริการสาธารณะของเทศบาลตำบล. วิทยานิพนธ์ปริญญา ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ประจักษ์ ทามี. (2558, กันยายน-ธันวาคม). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับวัฒนธรรมองค์กรลักษณะสร้างสรรค์ของโรงเรียนในจังหวัดนครพนม. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 5(2), 24-32.
ภัสนันท์ พ่วงเถื่อน. (2555). วัฒนธรรมองค์การขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : บทบาทผู้นำต่อวัฒนธรรมองค์การ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มณฑิรา มีรส. (2559). รูปแบบการประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานองค์การบริหารส่วนจังหวัด : กรณีศึกษาจังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
วัชรพล คงมนต์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางจริยธรรมกับภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารองค์กรภาครัฐพื้นที่ตะวันออกของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยคริสเตียน.
สุขกัญญา สุขการณ์. (2556). ลักษณะผู้นำที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในจังหวัดเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
อัญชลี ชุมนุม. (2557, พฤษภาคม-สิงหาคม). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการมีส่วนร่วมที่มีความสัมพันธ์ต่อการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 4(2),37-43.
Bass, B. M. & Avolio, B. J. (2013). Improving organizational effectiveness through transformational leadership Newbury Park, CA : Sage Publications.
Denison, D.R. (2012). Corporate culture and organizational effectiveness. New York : John Wiley & Sons.
Kaplan, R. S. & Norton, D. P. (2015). The balanced scorecard: translating strategy In Massachusetts. Harvard Cambridge Massachusetts. Boston : Business School Press.
Krippendorff, V. (2013). Research synthesis and meta-analysis, handbook of applied social research methods. California : Sage Publications.
World Bank. (2014). World development indicators. New York : World Bank.