การประเมินผลโครงการ: แนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการ เมืองสมุนไพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Main Article Content

Siriporn Pengjan

บทคัดย่อ

 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลโครงการและเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาโครงการประยุกต์ใช้ CIPPOIST – MODEL ในการประเมิน ผลประเมิน พบว่า 1) ด้านบริบท โครงการมีความจำเป็น มีความชัดเจน ไม่มีความซ้ำซ้อนกับโครงการทั้งที่อยู่และสอดคล้องกับพันธกิจของหน่วยงานต่างๆที่รับผิดชอบ 2) ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า งบประมาณ ระยะเวลา วัสดุอุปกรณ์ กิจกรรมและเป้าหมาย มีความสอดคล้องระหว่างพื้นที่ดำเนินการ 3) ด้านกระบวนการ พบว่า ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการมีใช้ทรัพยากรเกิดประโยชน์สูงสุด การประเมินผลกระบวนการของโครงการในประเด็นระยะเวลาตามแผนงานโครงการ วิธีการดำเนินงาน และผลการดำเนินงานของกิจกรรมต่างๆ มีความสอดคล้องกัน 4) ด้านผลผลิต พบว่า ตัวชี้วัดทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลผลิตของโครงการตามกิจกรรม ผลลัพธ์ที่สืบเนื่องจากผลิตโครงการ ผลกระทบที่เกิดจากการดำเนินโครงการทั้งเชิงบวกและเชิงลบ มีความครอบคลุม และ 5) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ พบว่า ผู้รับผิดชอบมีการทำความเข้าใจสถานการณ์ปัญหา ศึกษาข้อมูลพื้นฐานก่อนดำเนินโครงการ การที่ผู้บริหารโครงการ ทีมงาน หรือบุคลากรที่รับผิดชอบกิจกรรมย่อยๆ ทำการศึกษารายละเอียดโครงการอย่างวิเคราะห์เจาะลึก ทั้งในด้านของปัจจัยพื้นฐานและสภาพแวดล้อมต่างๆ เป็นอย่างดีส่งผลต่อความสำเร็จของโครงการ

Article Details

How to Cite
Pengjan, S. (2021). การประเมินผลโครงการ: แนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการ เมืองสมุนไพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 8(1), 81–106. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/msj/article/view/240909
บท
บทความวิจัย

References

ปกรณ์ ปรียากร. (2556). การบริหารโครงการ : แนวคิดและแนวทางในการสร้างความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
พิชิต ฤทธ์จรูญ. (2557). เทคนิคการประเมินโครงการ.พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: เฮ้าส์อ๊อฟเคอร์มีสท์
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการประเมิน พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2553). วิธีวิทยาการประเมิน: ศาสตร์แห่งคุณค่า. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ. (2559). การวิเคราะห์ประเมินผลโครงการด้านความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน. กรุงเทพฯ: กรมการขนส่งทางบก.
Ebel, R.L. And Frisbie, D.A. (1986). Essentials of educational measurement. (4th ed.). Newjersey: Prentice–Hall.
Fitzpatrick,J.L., Sanders, J.R. and Worthen, B.R. (2004). Program Evolution, alternative approaches and practical guidelines. New York: Longman.
Pakhon Preeyakhon. (2012). Critical success factors in effective project implementation. Bangkok: Public Administration National Institution of Development Administration (NIDA). (In Thai)
Pichit Ritjaroon. (2013). Technical of Project Evaluation (2nd ed.). Bangkok: House of Kermee. (In Thai)
Rossi, P.H. Lipsey, M.K. and Freeman, H.E. (2004). Evaluation: a systematic approach. (7th ed.). Newbery Park, CA : SAGE.
Sirichai Kanchanawasi. (2009). Evaluation Theory. (7th ed.). Bangkok: Chula Book. (In Thai)
Somhong Pitiyanuwut. (2010). Methodology of Evaluation Science: Science of Value. (5th ed.). Bangkok: Chula Book. (In Thai)
Stufflebeam, D. L. (1966). A depth study of the evaluation requirement. Theory into Practice, 5, 121-134.
Stufflebeam, D. L. (1967). The use of and abuse of evaluation in Title III. Theory into Practice, 6, 126-133.
Stufflebeam, D.L. (2002). CIPP evaluation model checklist. http:/www.wmich.edu/evalctr/checklist/cippchecklist.htm.
Stufflebeam, D. L. (2003). The CIPP model for evaluation. In T. Kelleghan & D. L. Stufflebeam. (Eds.). International handbook of education evaluation. Norwell, MA: Kluwer.
Stufflebeam, D. L. (2005). Empowerment evaluation. In S. Mathison (Ed.). Encyclopedia of evaluation. (pp. 125-129). Thousand Oaks, CA: SAGE.
Stufflebeam, D. L. (2005). Deliberative democratic evaluation. In S. Mathison (Ed.). Encyclopedia of evaluation. (pp. 104-108). Thousand Oaks, CA: Sage.
Stufflebeam and Shinkfield. (2007). Evaluation Theory, Models, and Applications. USA: Jossey-Bass.
Thailand Innovative Administration Consultancy Institute. (2016). Analysis and evaluation of road safety project. Bangkok: Department of Land Transport (In Thai)