The Effect of Customer Relationship Management and Corporate Image Toward Customer Loyalty Commercial Bank Customers Muang District, Surat Thani Province

Main Article Content

ญาณัจฉรา เดชะ

Abstract

This research aimed to study the customer relationship management level, the corporate image level, the customer loyalty level, and the customer relationship management. The corporate image affects customer loyalty of Commercial Bank in Muang district, Surat Thani province. The population of this research were customers who applied to the services of Commercial Bank in Muang District, Surat Thani Province. The 392 samples were calculated by the W.G. Cochran. The questionnaire was used as a tool. Customer relationship management was at a reliability coefficient of 0.95 while the corporate image and loyalty of the customer was at the reliability coefficient of 0.93. The data were analyzed, using frequency, percentage, mean, standard deviation, and Multiple Regression Analysis.


The results showed customer relationship management was an important tool to satisfy the customers to keep and develop the relationship with the customers at a high level until loyalty to the bank became for a long term and it also will presently create the advantages of competitive business of the bank. Therefore, the organization must effectively develop the customer relationship management and be able to respond to customer requirements that are always changing; then it might affect the good-corporate image for customers who will return to buy products repeatedly. So it can increase opportunities to buy across product lines, services, word of mouth and Immunity to attract competitors.

Article Details

How to Cite
เดชะ ญ. (2020). The Effect of Customer Relationship Management and Corporate Image Toward Customer Loyalty Commercial Bank Customers Muang District, Surat Thani Province. Journal of Management Sciences Suratthani Rajabhat University, 7(1), 25–49. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/msj/article/view/117003
Section
Research Article

References

กรวรรณ ชคัตตรัยกุล. (2558). การศึกษาคุณลักษณะส่วนบุคคล การบริหารลูกค้าสัมพันธ์และความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีผลต่อภาพ ลักษณ์ของธนาคารพาณิชย์ไทยแห่งหนึ่ง กรณีศึกษาพนักงานระดับปฏิบัติการธนาคารพาณิชย์ไทยแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กฤตนพัฒน์ สิงห์สีโว. (2555). ผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่มีต่อความจงรักภักดีของบริษัทนำเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เกศนภา ไลซานดร้า ยะเสน. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความจงรักภักดีของลูกค้าในการใช้สินค้าและบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ของบริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ในเขตจังหวัดปทุมธานี. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เขมกร เข็มน้อย. (2554). ภาพลักษณ์องค์กรและคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าธนาคารออมสินในสังกัดเขตสมุทรสาคร. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จินดาลักษณ์ เกียรติเจริญ. (2555). ภาพลักษณ์ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สาขาปิ่นเกล้า ที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้า. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชลลดา ไชยกุล. (2555). ภาพลักษณ์องค์กร คุณค่าตราสินค้าและความพึงพอใจในส่วนประสมทางการตลาดธุรกิจบริการ ที่มีผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้า บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ. (2546). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: เหรียญบุญการพิมพ์.

ฐานัดดา ไทยยากรณ์. (2553). กลยุทธ์ทางการตลาดและการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่มีความสัมพันธ์กับ ความพึงพอใจโดยรวมต่อรถยนต์โตโยต้า บริษัท โตโยต้า เค มอเตอร์ผู้จำหน่ายโตโยต้า จำกัด ในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

เตือนใจ จันทร์หนองสรวง. (2554). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์มีผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เครือข่ายเอไอเอสในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ธนาคารแห่งประเทศไทยศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงินธุรกิจการเงิน. (2558). สถาบันการเงินภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย. สืบค้น 10 ตุลาคม 2558, จาก http://www.thaibankmuseum.or.th.

ธนาภา หิมารัตน์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีทางการเงิน บริบทธนาคารพาณิชย์. (วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธัญญนิษฐ์ ศรีรัตนธำรง. (2557). ภาพลักษณ์องค์กรที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าบริษัทเมอร์เซเดส-เบนซ์ ลีสซิ่งประเทศไทย จำกัด. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นงค์นุช ศรีนาอนันต์. (2553). การโรงแรมเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

นันทมน ไชยโครต. (2557). ภาพลักษณ์องค์กรและคุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้า ธนาคารออมสินในเขตบางแค. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พจน์ ใจชาญสุขกิจ. (2550). พลิกโฉมองค์กรด้วยกลยุทธ์การสื่อสารชั้นเซียน. กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊คส์.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนคริณทรวิโรฒ.

พสุ เดชะรินทร์. (2550). จะทราบได้อย่างไรว่าลูกค้ามีความภักดี. สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2558. จาก <http://www.pasuonline.net/d78_40607.html3>

เพ็ญศรี แสนศักดิ์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารลูกค้าสัมพันธ์กับคุณภาพการใช้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูมหาสารคาม จำกัด. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2550). การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัย 2. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

วิทยา ด่านธำรงกูล และพิภพ อุดร. (2549). ซีอาร์เอ็ม-ซีอีเอ็ม หยินหยางการตลาด. กรุงเทพฯ: วงกลม.

วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2551). ผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ต่อความจงรักภักดีของลูกค้าของ ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

สุธิดา แก้วไชย. (2556). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของพนักงานต้อนรับส่วนหน้าที่มีต่อคุณภาพการบริการของโรงแรมระดับ 4 ดาวในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อนพัช ทวีเมือง. (2555). อิทธิพลของภาพลักษณ์ และความพึงพอใจในการให้บริการต่อความจงรักภักดีของลูกค้าธนาคารออมสิน. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).พัทลุง: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

Boulding, K. E. 1975. The Image: Knowledge in Life and Society. Michigan: The University of Michigan.

Griffin, J. (1995). Customer Loyalty: How to Earn it, How To Keep It. San Francisco: JosseyBass Publishers.

Lawson - Body, A., & M. Limayem. (2004). “The Impact of Customer Relationship Management on Customer Loyalty : The Moderating Role of Web Site Characteristics”. Journal of Computer-Mediated Communication, 9(4).

Toyese, Y.A. (2014). Customer relationship management and customer loyalty in Nigerian telecommunication industry. The Business & Management Review, 4(3).

Turban, E.D., King,J.L. & Viehland, D. (2004). Electronic Commerce 2004: A Managerial Perspective (3rd). New Jersey: Pearson.