ภาพเหมารวมทางเพศของหมอนวดแผนไทยหญิง: กรณีศึกษา ร้านนวดแผนไทย เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี

Main Article Content

ปพิชญา อุปถัมภากุล
เจริญชัย เอกมาไพศาล

บทคัดย่อ

อาชีพหมอนวดแผนไทยเป็นอาชีพที่เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของประเทศไทยและอยู่ในธุรกิจที่สร้าง รายได้ให้กับประเทศอย่างมาก หากแต่ “หมอนวด” กลับมีภาพเหมารวมของอาชีพในทางที่ไม่ดีโดยเฉพาะ หมอนวดหญิงที่มักถูกเหมารวมว่ามีการให้บริการทางเพศร่วมด้วย งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาภาพเหมารวม ทางเพศของหมอนวดแผนไทยหญิง: กรณีศึกษาร้านนวดแผนไทย เขตเมืองพัทยาจังหวัดชลบุรีผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความเชื่อมโยงกับภาพเหมารวมทางเพศ ได้แก่ (1) หมอนวดแฝงและ (2) การเหมารวมคำว่า“หมอนวด” ที่ใช้เรียกแทนหมอนวดทุกประเภท ทำให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนต่ออาชีพการนวดแผนไทย ภาพลักษณ์ ที่ไม่ดีของอาชีพหมอนวดแผนไทย มีสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ และความต้องการของ ลูกค้าเพศชายที่ต้องการใช้บริการหมอนวดแผนไทยเพศหญิงมากกว่าหมอนวดแผนไทยเพศชาย ทำให้เกิดช่องว่าง ให้มีการลักลอบให้บริการทางเพศของหมอนวดแฝง สำหรับเหตุจูงใจของการเข้าสู่อาชีพหมอนวดแผนไทย ได้แก่รายได้ที่ดีการแนะนำของเพื่อนหรือคนใกล้ชิด สาเหตุหลักที่เลือกอาชีพหมอนวดแผนไทยคือมีทางเลือกใน การประกอบน้อยเนื่องมาจากวุฒิทางการศึกษาแม้ว่าหมอนวดแผนไทยรู้สึกว่าผู้อื่นมองอาชีพของตนไปในทางที่ ไม่ดีจากภาพเหมารวมทางเพศ แต่ตนยังรู้สึกพึงพอใจในอาชีพหมอนวดแผนไทยเนื่องจากเป็นอาชีพที่สามารถ สร้างรายได้ที่ดีรวมถึงมีความภูมิใจในอาชีพเพราะเป็นอาชีพที่ต้องใช้ความรู้ความชำนาญ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
อุปถัมภากุล ป., & เอกมาไพศาล เ. (2018). ภาพเหมารวมทางเพศของหมอนวดแผนไทยหญิง: กรณีศึกษา ร้านนวดแผนไทย เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 18(2), 74–102. https://doi.org/10.14456/lartstu.2018.14
บท
บทความวิจัย
Author Biography

เจริญชัย เอกมาไพศาล, คณะการจัดการการท่องเทียว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Assistant Prof. Dr. Agmapisarn completed his degrees through the School of Development Economics at National Institute of Development Administration (NIDA) followed by Department of Applied Economics; Department of Economics at University of Minnesota at Twin Cities; and Department of Career Science at Kasetsart University in Tourism (with a second-class honors). In 2009 his Ph.D. paper was awarded the best graduate-level paper from Bank of Thailand. He also obtained a post graduate certificate in International Hospitality Operations (with Distinction) from the Les Roches International School of Hotel Management, Bluche, Switzerland under a NIDA scholarship. He has 16 years experience lecturing in microeconomics, labor economics, and tourism economics.

Since December 2014, he has served as a consultant and provided practical on-site trainings at various companies in Thailand, such as EAT ME: one of Asia’s 50 best restaurants, Thailand Development Research Institute (TDRI), and Thai Airways International (THAI). His focus includes areas such as service leadership, consistency in service excellency, service entrepreneurship, and personality development for work competencies and performances.

One of his most rewarding programs was the “Service Leadership” program that he conducted for 600 inflight managers and pursers for Thai Airways International Public Company Limited (THAI) during the period of December 2014 to August 2015. He has published several articles related to the service industry in the Thammasat Reviews and ABAC journal, and was also invited to be a journal peer reviewer for Cornell Hospitality Quarterly—the oldest hospitality journal in the world—where he reviewed papers discussing service management.

References

กรด โรจนเสถียร. (2559). ‘ก.ม.คุมร้านนวด’ใครเชียร์-ใครค้าน. คม-ชัด-ลึก. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2560 จาก http:/www.komchadluek.net/news/scoop/240903

กรมธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. (2553). การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2560 จาก https://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=373&filename=index

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 3 สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2560 จาก http://mots.go.th/ewt_news.php?nid=7618&filename=index

กระทรวงสาธารณสุข. (2558). รายงานข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข ประจำปี 2557. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2560 จาก http://thcc.or.th/download/gishealth/report-gis57.pdf

โครงการพัฒนาสุขภาวะและคุณภาพชีวิตผู้ต้องขังหญิงด้วยกิจกรรมทางกายและใจในชีวิตประจำวัน. (2559). คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวมนวดแผนไทย. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2560 จาก http://resource.thaihealth.or.th/library/hot/15403

ดารารัตน์ ฮุยเกี๊ยะ. (2559). การค้าประเวณีแอบแฝงในธุรกิจนวดพริตตี้สปาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร. วารสารการบริหารปกครอง, 5(2), 256-268.

ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. (2560). Stereo Type คืออะไร? ประชาชาติธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2560 จาก http://m.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1486007682

ประไพพิมพ์ สุธีวสินนนท์ และประสพชัย พสุนนท์. (2559). กลยุทธ์การเลือกตัวอย่างสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 29(2), 31-48.

ปริญญา หรุ่นโพธิ์ และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2559). เรื่องเล่าชีวิตหมอนวดเกย์ ณ โรงนวด จังหวัดกรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(1), 194-206.

พนารัช ปรีดากรณ์. (2556). การพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวผ่านการสร้างเครือข่ายกลุ่มธุรกิจ. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 9(1), 48-67.

พสุนิต สารมาศ, นราภรณ์ ขันธบุตร, และอุบลวรรณ อยู่สุข. (2551). ศึกษาหมอนวดแผนไทย: ผู้ให้บริการส่งเสริมสุขภาพในจังหวัดเชียงใหม่ (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ภัสน์วจี ศรีสุวรรณ์. (2560). แพทย์แผนไทย. เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก ฉบับภาษาไทย, 16(191), สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2560 จาก http://www.ngthai.com/featured/1847/thai-traditional-medicine/

รัตนะบัวสนธ์, เอื้อมพร หลินเจริญ, ชำนาญ ปาณาวงษ์, ปริญญา จิตรโครต, เบญจวรรณ อินต๊ะวงศ์, ปาณจิตร สุกุมาลย์, และรักษ์ศิริ จิตรอารี. (2557). หมอดูและหมอนวด: ท่อระบายความเครียดและความใคร่ของสังคมไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(3), 172-180.

ราณี อิสิชัยกุล. (2560). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 23 ตุลาคม 2560 จาก http://www.sms-stou.org/archives/2233

ศิริลักษณ์ ฮั้วรุ่งเรือง. (2550). การนำความรู้และทักษะฝีมือไปใช้ประโยชน์ของผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรนวดแผนไทยของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 3 ชลบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมศรี ศิริไหวประพันธ์ และวุฒิชาติ สุนทรสมัย. (2559). รูปแบบการพัฒนาทุนมนุษย์ในวิสาหกิจขนาดย่อม: กลุ่มสปาและนวดแผนไทยในเมืองพัทยา. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 14(1), 77-90.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2560 จากhttp://plan.pnru.ac.th/upload-files/uploadfile/134/5e8e333208daf914a086a5eac5be67f1.pdf

สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2560). บริการข้อมูล: ผู้ประกอบโรคศิลปะ. สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2560 จาก https://esv.mrd.go.th/dataservice/operatorlist

สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล. (2557). 25 คำนิยามศัพท์ที่เกี่ยวกับเรื่องความเสมอภาคทางเพศ. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2560 จาก http://www.teenpath.net/data/r-article/00002/tpfile/00001.pdf

สุริยะ วงษ์คงคาเทพ. (2559). อธิบดีกรมการพัฒนาแพทย์แผนไทยและการแพทย์. “หมอนวดแผนไทย” โวยละครดังช่องน้อยสีดูถูกวิชาชีพ. เดลินิวส์. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2560 จากhttps://www.dailynews.co.th/politics/387182

สุเนตรตรา จันทบุรี. (2559). โอกาสและความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจสปาและนวดแผนไทย. วารสารเกษมบัณฑิต, 17(2), 49-63.

องอาจ นัยพัฒน์. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สามลดา.

อังสณา เนียมวณิชยกุล, จตุพร บานชื่น, และกังสดาล เชาว์วัฒนกุล. (2554). สื่อกับการเข้าสู่อาชีพพริตตี้สปาของนิสิตนักศึกษา. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์), 3(6), 195-204.

Bennett, S., Bennett, M. J., Chatchawan, U., Jenjaiwit, P., Pantumethakul, R., Kunhasura, S., & Eungpinichpong, W. (2016). Acute effects of traditional Thai massage on cortisol levels, arterial blood pressure and stress perception in academic stress condition: A single blind randomized controlled trial. Journal of Bodywork and Movement Therapies, 20(2), 286-292. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.jbmt.2015.10.005

Buttagat, V., Eungpinichpong, W., Kaber, D., Chatchawan, U., & Arayawichanon, P. (2012). Acute effects of traditional Thai massage on electroencephalogram in patients with scapulocostal syndrome. Complementary Therapies in Medicine, 20(4), 167-174. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.ctim.2012.02.002

Carter, N., Bryant-Lukosius, D., DiCenso, A., Blythe, J., & Neville, A. J. (2014). The use of triangulation in qualitative research. Oncology Nursing Forum, 41(5), 545-547. Retrieved from https://doi.org/10.1188/14.ONF

MGR Online. (2559). เร่งดัน “นวดไทย” มรดกโลก หารือ ก.แรงงาน กำหนดเป็นอาชีพเฉพาะคนไทย. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2560 จาก http://www.manager.co.th/QOL/viewnews.aspx?NewsID=9590000072026

Monk-turner, E., & Turner, C. G. (2017). Thai massage and commercial sex work: A phenomenological study. International Journal of Criminal Justice Sciences, 12(1), 57-68. Retrieved from https://doi.org/10.5281/ZENODO.345707

Moraska, A., Pollini, R. A., Boulanger, K., Brooks, M. Z., & Teitlebaum, L. (2010). Physiological adjustments to stress measures following massage therapy: A review of the literature. Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine, 7(4), 409-418. Retrieved from https://doi.org/10.1093/exam/nen029

Nemoto, T., Iwamoto, M., Oh, H. J., Wong, S., & Nguyen, H. (2005). Risk behaviors among Asian women who work at massage parlors in San Francisco: Perspectives from masseuses and owners/managers. AIDS Education and Prevention, 17(5), 444-456. Retrieved from https://doi.org/10.1521/aeap.2005.17.5.444

Nemoto, T., Iwamoto, M., Wong, S., Le, M. N., & Operario, D. (2004). Social factors related to risk for violence and sexually transmitted Infections/HIVamong Asian massage parlor workers in San Francisco. AIDS and Behavior, 8(4), 475-483. https://doi.org/10.1007/s10461-004-7331-4

Nemoto, T., Operario, D., Takenaka, M., Iwamoto, M., & Le, M. N. (2003). HIV risk among Asian women working at massage parlors in San Francisco. AIDS Education and Prevention, 15(3), 245-256. Retrieved from https://doi.org/10.1521/aeap.15.4.245.23829

Netchanok, S., Wendy, M., Marie, C., & Siobhan, O. (2012). The effectiveness of Swedish massage and traditional Thai massage in treating chronic low back pain: A review of the literature. Complementary Therapies in Clinical Practice, 18(4), 227-234. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.ctcp.2012.07.001

Poria, Y. (2008). Gender-A crucial neglected element in the service encounter: An exploratory study of the choice of hotel masseur or masseuse. Journal of Hospitality & Tourism Research, 32(2), 151-168.

Robinson, O. C. (2014). Sampling in interview-based qualitative research: A theoretical and practical guide. Qualitative Research in Psychology, 11(1), 25-41. Retrieved from https://doi.org/10.1080/14780887.2013.801543

Schneider, D. J. (2004). The Psychology of stereotyping. New York, NY: The Guilford Press.

Sripongngam, T., Eungpinichpong, W., Sirivongs, D., Kanpittaya, J., Tangvoraphonkchai, K., & Chanaboon, S. (2015). Immediate effects of traditional Thai massage on psychological stress as indicated by salivary alpha-amylase levels in healthy persons. Medical Science Monitor Basic Research, 21, 216-221. Retrieved from https://doi.org/10.12659/MSMBR.894343