กวีนิพนธ์ไทยในยุคสังคมทุนนิยม พ.ศ. 2531-2560

Main Article Content

เสาวณิต จุลวงศ์

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษากวีนิพนธ์ไทยจำนวน 200 บท ในช่วง พ.ศ. 2531-2560 โดยมุ่งค้นหาโครงสร้างเรื่องเล่าของบทกวีตามแนวคิดเรื่องผังตัวกระทำของเกรมาส พบว่าเรื่องเล่าในกวีนิพนธ์ไทยมีตัวประธานแบ่งเป็น 9 กลุ่ม มีตัวเป้าหมาย 15 ตัว ตัวสนับสนุนและตัวอุปสรรคร่วมกันทั้งหมดแบ่งเป็น 35 ตัว ส่วนใหญ่ไม่มีตัวผู้รับและตัวผู้ให้ การศึกษาทำให้เห็นโครงสร้างเรื่องเล่าในกวีนิพนธ์ที่เป็นการนำเสนอภาพเศรษฐกิจผ่านการแสวงหาตัวเป้าหมายของตัวประธาน ตัวสนับสนุนและตัวอุปสรรคสะท้อนถึงเงื่อนไขทางเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อหน่วยต่าง ๆ ในสังคมในเต่ละช่วงเวลา และโครงสร้างของเรื่องเล่าในบทกวีนี้เป็นตัวแบบ (model) ที่สามารถอนุมานถึงรูปแบบเดียวกันในเรื่องเล่าบทกวีอื่น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย: บทวิเคราะห์และสรรนิพนธ์. (2544). ศยาม.

กังวาลไพร นามฯ. (2559). หุ่นไล่กาอาจจะเขียนบทกวี. เนชั่นสุดสัปดาห์, 25(1278), 28.

ขรรค์ชัย บุนปาน. (2540). [ไม่มีชื่อ]. มติชนสุดสัปดาห์, 17(876), 98.

คนวันจันทร์. (2547). ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในป่าคอนกรีต (พันธุ์ ซี.พี. 7-11). สยามรัฐสัปดาห วิจารณ์, 50(50), 67.

คนวันจันทร์. (2549). ค้าอะไรถึงเป็นมหาเศรษฐี? สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 54(5), 45.

คมเลนส์. (2531). มนุษยภัย. มติชนสุดสัปดาห์, 9(433), 18.

คมเลนส์. (2539). วุฒิ ส.ส. มติชนสุดสัปดาห์, 16(804), 49.

คมเลนส์. (2542). คิดเถื่อน. มติชนสุดสัปดาห์, 19(1004), 49.

คมเลนส์. (2549). ปู่ทวดไม่ได้เห็น. มติชนสุดสัปดาห์, 26(1335), 53.

จิระนันท์ พิตรปรีชา. (2533). ยิ่งคิดยิ่งข้อง. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 36(40), 45.

เจริญขวัญ. (2554). เมื่อข้าพเจ้าเป็นบ้าไป 5 นาที. มติชนสุดสัปดาห์, 32(1636), 68.

ฉันท์รักษ์. (2558). โอกาส. เนชั่นสุดสัปดาห์, 23(1195), 30-31.

ฉัตร เชิงดอย. (2540). 5 ธันวา มหาราช. เนชั่นสุดสัปดาห์, 6(287), 90.

ชลธิรา กลัดอยู่. (2546). ร้อยกรองเพื่อมวลชน : กระจกเงาสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของคนรุ่นใหม่. ใน กัณหา แสงรายา และ เจษฎา ทองรุ่งโรจน์ (บรรณาธิการ), ปริทรรศน์วรรณกรรมไทยสมัยใหม่. มูลนิธิสถาบันวิชาการ 14 ตุลา.

ชเลพร. (2538). ของเขา. มติชนสุดสัปดาห์, 15(752), 59.

ชูชาติ ครุฑใจกล้า. (2531). ซานตาคลอส. มติชนสุดสัปดาห์, 9(434), 32.

โชคชัย บัณฑิต’. (2537). แลนด์แอ่นเหา. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 41(5), 51.

โชคชัย บัณฑิต’. (2542). เพิ่มผลผลิต. มติชนสุดสัปดาห์, 19(975), 72.

โชคชัย บัณฑิต’. (2546). บ้านใหม่. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 50(9), 65.

แดง ดอกจาน. (2538). จดหมายจากชาวนา. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 42(11), 20.

ทวน ใบมาก. (2534). นรกล่ม. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 38(25), 51.

ทวีสุข ทองถาวร. (2538). ไม้คาน เข่งคู่. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 41(40), 51.

ทิน ละออ. (2535). ชาวไร่...ชาวไร้. มติชนสุดสัปดาห์, 12(613), 46.

เทอด ประชาทิพย์. (2552). สมัชชาราษฎร. มติชนสุดสัปดาห์, 29(1503), 38.

ธงธรรม สามัญชน. (2547). นักรบ แห่งสันติธรรม. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 50(36), 65.

ธัญญา ธัญญามาศ. (2541). โจรเสื้อนอก. มติชนสุดสัปดาห์, 18(917), 37.

ธัญญา สังขพันธานนท์. (2538). ร้อยกรองการเมืองไทยจากทศวรรษ 2490-พฤษภาทมิฬ. ใน ปรากฏการณ์วรรณกรรมไทย. นาคร.

ธัญศักดิ์ ณ นคร. (2548). สวรรค์อันดามัน. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 51(34), 67.

ธาร ธรรมโฆษณ์. (2560). ตลาดชานเมือง; หนังแผ่น. มติชนสุดสัปดาห์, 37(1926), 73.

นฤมิตร ประพันธ์. (2542). กลับบ้าน. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 46(8), 51.

นิตยา แก้วคัลณา. (2548). แนวโน้มของกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย. วารสารศิลปศาสตร์, 5(1), 98-145.

นิตยา แก้วคัลณา. (2559). สำนึกทางสังคมในกวีนิพนธ์ไทยในกระแสโลกสมัยใหม่. วรรณวิทัศน์, 16, 1-23.

นิราศ นิรันดร. (2549). เลหลังประเทศไทย. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 52(44), 59.

นิราศ นิรันดร. (2553). โศกนาฏกรรมแห่งท้องนา. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 57(33), 81.

นิวรรฒก์ ทองจำปา. (2557). แบงก์ในมือ. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 61(37), 78.

น้ำเหล็ก ประกายไฟ. (2550). รำพึง เงินบาท. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 54(50), 57.

บัญชา อ่อนดี. (2540). น้ำตาแผ่นดิน. เนชั่นสุดสัปดาห์, 6(283), 68.

บุดดา มหายาน. (2553). ความยิ่งใหญ่ของละออง. มติชนสุดสัปดาห์, 30(1569), 85.

ประกาย ปรัชญา. (2558ก). รอยยิ้มกลับด้านของท้องฟ้า: ยามรุ้งกลับมา. มติชนสุดสัปดาห์, 35(1816), 57.

ประกาย ปรัชญา. (2558ข). เสม็ดราตรี. มติชนสุดสัปดาห์, 35(1835), 57.

ประพนธ์ เรืองณรงค์. (2532). เสดสา. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 35(31), 54.

ประเสริฐ จันดำ. (2538). ข้าวเขียว ปุ๋ยขุ่น. มติชนสุดสัปดาห์, 15(791), 81.

ปรัชญ์ วลีพร. (2534). จากปลายตึก...จบดิน. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 38(27), 51.

ปราชญ์ อันดามัน. (2545). เปิดท้าย. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 48(38), 64.

ปราโมช ปราโมทย์. (2539). ใบไม้ร่อน...หนังสือเล่ม. เนชั่นสุดสัปดาห์, 4(195), 49.

ปินาก. (2556). กู้เพื่อพี่-หนี้เพื่อน้อง. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 60(35), 66.

ปิยะโชติ อินทรนิวาส. (2543). ถามคนสงขลา. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 47(28), 65.

ผู้ตาย 1988. (2536). “ตาสี/ตาสา” (หนึ่งห้วง...สนทนา). สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 39(50), 21.

พงษ์ศรี ศีสะเกษ. (2535). เหตุเกิดที่เอว. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 39(25), 51.

พันดา ธรรมดา. (2531). นิทานจากแผนฯ 6. มติชนสุดสัปดาห์, 8(386), 24.

พิเชฐ แสงทอง. (2561). วาทกรรมศีลธรรมของกวีนิพนธ์ไทยในสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง พ.ศ. 2549-2553. Journal of Social Sciences and Humanities Research in Asia, 24(2), 33-74.

พิเชฐ แสงทอง. (2558). จากการโหยหาอดีต สู่การเสาะค้นเทพเจ้าในสิ่งเล็กๆ: หนึ่งทศวรรษแห่งการเปลี่ยนโฉมหน้าของกวีนิพนธ์ไทย ศึกษาจากกวีนิพนธ์รางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด (2547-2557). Journal of Social Sciences and Humanities Research in Asia, 21(3), 45-85.

ไพฑูรย์ พรหมวิจิตร. (2545). ผ่าอกแม่น้ำโขง. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 48(38), 57.

ไพบูลย์ พันธุ์เมือง. (2550). คนเลี้ยงควาย-ควายเลี้ยงคน (เรื่องจริงจากชุมพร). เนชั่นสุดสัปดาห์, 16(810), 62.

ไพวรินทร์ ขาวงาม. (2550). คนมีหัวใจนำทาง พึงมีอาหารนำท้อง (แด่...ดุลยภาพพอเพียงแห่งชีวิต). เนชั่นสุดสัปดาห์, 15(762), 7.

ไพวรินทร์ ขาวงาม. (2552). ชรากรรม. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 56(36), 61.

ภักดิ์ รตนผล. (2559). แผ่นดินพระราชา. มติชนสุดสัปดาห์, 36(1888), 57.

ภูมินทร์ วรรณวงศ์. (2532). น้ำตาชาวนา. มติชนสุดสัปดาห์, 9(438), 24.

มงคล อุทก. (2555). น้ำ ฟ้า ดิน. เนชั่นสุดสัปดาห์, 20(1023), 62.

มลังเมลือง บุตรสุริยา. (2533). คำพยากรณ์. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 36(30), 49.

มหา สุรารินทร์. (2545). โรงไฟฟ้าอัปยศ. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 49(4), 64.

มะเนาะ ยูเด็น. (2558). ห่วงยาง. มติชนสุดสัปดาห์, 35(1800), 57.

เมธี วงศ์ครุฑ. (2537). เมล็ดพันธุ์ของความปวดร้าว. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 40(47), 51.

ไม้หนึ่ง ก. กุนที. (2536). ก๋วยเตี๋ยวใต้สะพาน. มติชนสุดสัปดาห์, 14(690), 56.

ไม้หนึ่ง ก. กุนที. (2544). Thirties People (บุตรธิดาของยุคพืชเศรษฐกิจ). มติชนสุดสัปดาห์, 21(1078), 66.

ยงค์ ยโสธร. (2551). สงครามครั้งสุดท้าย. มติชนสุดสัปดาห์, 28(1460), 26.

รมณา โรชา. (2542). เสื้อคนงาน. เนชั่นสุดสัปดาห์, 8(365), 57.

รมณา โรชา. (2547). ปางเมืองไทยในหวัดนก. มติชนสุดสัปดาห์, 24(1227), 50.

ร้อย บานบุรี. (2551). การเมืองใหม่. เนชั่นสุดสัปดาห์, 17(853), 10.

ร้อย บานบุรี. (2552). ข่าวดี. เนชั่นสุดสัปดาห์, 17(890), 11.

รูญ ระโนด. (2542). ล้ม-ละลาย. มติชนสุดสัปดาห์, 19(972), 26.

เรวัตร พันธุ์พิพัฒน์. (2533). ...ฝนเม็ดเศร้าร้าวหมอกราน. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 36(40), 45.

ไร่เหนือ มะลิป่า. (2558). แมวในร้านเบเกอรี่. เนชั่นสุดสัปดาห์, 34(1199), 34.

โรจน์ จรจรุง. (2541). งาน. มติชนสุดสัปดาห์, 18(933), 65.

ละไมมาด คำฉวี. (2559). เรื่องใกล้เรื่องไกล. มติชนสุดสัปดาห์, 37(1893), 68.

วิกมล ดำด้วงโรม. (2550). ดอกการ์เมนท์. มติชนสุดสัปดาห์, 27(1408), 55.

วิสุทธิ์ ขาวเนียม. (2548). พลเมืองของประเทศที่เหลืออยู่. เนชั่นสุดสัปดาห์, 14(706), 51.

ศิลาแลง. (2536). ก่อนจะสิ้นแสงตะวัน. เนชั่นสุดสัปดาห์, 1(59), 50.

สกล ผดุงวงศ์. (2534). จากฟ้า...สู่ดิน. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 38(26), 51.

สกุณี ทักษิณา.( 2554). พิบัติกาล. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 59(8), 81.

สกุณี ทักษิณา. (2555). สูญเปล่า. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 59(48), 81.

สงขลา เสลาธรรม. (2536). ลมหายใจเก้าเส้ง. มติชนสุดสัปดาห์, 13(680), 46.

สงขลา เสลาธรรม. (2537). น้ำท่วม-น้ำตา. มติชนสุดสัปดาห์, 14(721), 50.

สานิตย์ ศรีนาค. (2551). เสาวภาคย์. เนชั่นสุดสัปดาห์, 17(862), 8.

สิระพล อักษรพันธ์. (2543). ชื่นเช้า; ร้านน้ำชา. เนชั่นสุดสัปดาห์, 8(411), 62.

สุขุมพจน์ คำสุขุม. (2547). โลกภายใน. มติชนสุดสัปดาห์, 25(1263), 113.

สุขุมพจน์ คำสุขุม. (2559). เมฆเหนือนิคมอุตสาหกรรม. มติชนสุดสัปดาห์, 37(1897), 72.

สุคม ศรีนวล. (2555). หอมมะลิ...มูลค่าทางวัฒนธรรม. เนชั่นสุดสัปดาห์, 21(1066), 58.

สุชีพ เจริญโท. (2543). เห่อ. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 46(32), 57.

เสน่ห์ วงษ์กำแหง. (2532). ขนมแบก. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 35(48), 55.

เสริมยศ เรืองศรีสังข์. (2533ก). ถึงลูก. มติชนสุดสัปดาห์, 10(495), 37.

เสริมยศ เรืองศรีสังข์. (2533ข). เปลวแดดที่เจดดาห์. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 36(32), 45.

เสรี ทัศนศิลป์. (2560). สนธยากาลแห่งทุ่งนากระดาษ. เนชั่นสุดสัปดาห์, 25(1305), 25.

เสาวณิต จุลวงศ์. (2561). ทุนนิยมวิพากษ์ในวรรณกรรมไทย. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14(1), 9-52.

เสาวณิต จุลวงศ์. (2561). รอยแยกของความคิดในกวีนิพนธ์การเมืองยุคแบ่งสีแยกข้าง. ใน วรรณคดีศึกษา: จากพื้นผิว ถึงโครงสร้าง สู่อุดมการณ์ (น. 217-244). ภาพพิมพ์.

แสงดาว ศรัทธามั่น. (2548). คือเพื่อนมนุษยชาติ. เนชั่นสุดสัปดาห์, 14(694), 51.

โสตถิเทพ แสวงประเทือง. (2547). กำไรที่รอยยิ้ม. มติชนสุดสัปดาห์, 24(1233), 50.

อรรฆพล ศรีฯ. (2546). ผ้าผวยผืนที่ร้อย. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 50(2), 65.

อหังการ์ กล้า. (2541). คนอึด 2541. เนชั่นสุดสัปดาห์, 8(291), 65.

อัคนี หฤทัย. (2559). เพลงกล่อมและอ้อมกอด. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 63(33), 82.

อังคาร จันทาทิพย์. (2553). หมู่บ้านในเสียงตอกเสาเข็ม. เนชั่นสุดสัปดาห์, 18(932), 62.

อังคาร โสภาพศิลป์. (2553). ลูกเถื่อน. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 58(14), 66.

อังคาร โสภาพศิลป์. (2554). แง่งามความจน. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 58(33), 66.

อิสลาว. (2547). ป่วย. เนชั่นสุดสัปดาห์, 12(615), 56.

อุดร ทองน้อย. (2553). แสนรักจักรวาล. มติชนสุดสัปดาห์, 30(1549), 79.

Greimas, A.-J. (1984). Structural Semantics: An attempt at a method. University of Nebraska Press.