การแปลหน่วยสร้างกรรมวาจกจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแปลหน่วยสร้างกรรมวาจกจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยว่ามีการใช้หน่วยสร้างประเภทใดบ้าง โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากวรรณกรรมและงานเขียนเชิงสารคดีภาษาญี่ปุ่น และฉบับแปลเป็นภาษาไทย ผลการศึกษา พบการใช้หน่วยสร้างหลากหลายประเภท เช่น หน่วยสร้างกรรมวาจก “ถูก” หน่วยสร้างอกรรมกริยา หน่วยสร้างกริยาแสดงสภาพการณ์ ฯลฯ โดยอาจจำแนกหน้าที่ของหน่วยสร้างเหล่านี้เป็นหน้าที่ “ยกประธานเด่น” และ “ลดบทบาทผู้กระทำ” รวมทั้งพบการใช้หน่วยสร้างซึ่งประธานเป็นผู้ก่อให้เกิดการกระทำ เช่น หน่วยสร้างกรรตุวาจก หน่วยสร้างกริยาบอกผล ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นหน้าที่ของหน่วยสร้างภาษาไทยหลากหลายประเภทว่ามีความสัมพันธ์กับหน่วยสร้างกรรมวาจกภาษาญี่ปุ่น รวมถึงเข้าใจแนวโน้มการแปลหน่วยสร้างกรรมวาจกภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ปฤณา มโนมัยวิบูลย์. (2547). การหลีกเลี่ยงประโยคกรรม “ถูก” ในเรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ ฉบับภาษาไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรพิลาส เรืองโชติวิทย์. (2524). ประโยครับในภาษาไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัฐพล ทองแตง. (2552). หน่วยสร้างประธานรับการกระทำในภาษาไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริมา ภิญโญสินวัฒน์. (2533). หน่วยสร้างภาษาไทยที่เทียบเท่ากับหน่วยสร้างกรรมวาจกภาษาอังกฤษในข่าวต่างประเทศผ่านดาวเทียม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2549). หน่วยสร้างกรรมวาจก. ใน อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (บรรณาธิการ), หน่วยสร้างที่มีข้อขัดแย้งในไวยากรณ์ไทย หน่วยสร้างคุณานุประโยค หน่วยสร้างประโยคเติมเต็ม หน่วยสร้างกริยาเรียงและหน่วยสร้างกรรมวาจก (หน้า 174-273). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ภาควิชาภาษาศาสตร์.
อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. (2556). หน่วยสร้างกรรมวาจกในภาษาไทย: การวิเคราะห์ในแนวไวยากรณ์หน้าที่นิยมแบบลักษณ์ภาษา. ภาษาและภาษาศาสตร์, 31, 1-34.
Katagiri, K. L., & Chawengkijwanich, S. (in press). A contrastive analysis of passive markers in Japanese and Thai: Factors influencing the use of passive. MANUSAYA: Journal of Humanities.
Kuroda, S. Y. (1979). On Japanese passives. In G. Bedell, E. Kobayashi, & M. Muraki (Eds.), Explorations in Linguistics: Papers in honor of Kazuko Inoue (pp. 305-347). Kenkyusha.
Prasithrathsint, A. (1983). The Thai equivalents of the English passives in formal writing: A case study of the influence of translation on the target language. Working papers in linguistics, 15(1), 47-68.
Shibatani, M. (1985). Passive and related constructions: A prototype analysis. Language, 61(4), 821-848.
Shibatani, M. (2006). On the conceptual framework for voice phenomena. Linguistics, 44(2), 217–269.
Ayako Nagura 倉綾子. (2011).「タイ語と日本語の受身文の対照研究―日本語受身文のタイ語への翻訳から―」.『思言: 東京外国語大学記述言語学論集』, 7, 169-176.
Ayako Shiba 志波彩子. (2009).「現代日本語受身文の体系:意味・構造的なタイプの記述から」[博士論文]. 東京外国語大学.
Ayako Shiba 志波彩子. (2015). 『現代日本語の受身構文タイプとテクストジャンル』. 和泉書院.
Ayako Shiba. 志波彩子. (2022). 「日本語学における受身構文」庵功雄 (編), 『日本語受身文の新しい捉え方』(pp. 1-26). くろしお出版.
Hisashi Noda 野田尚史. (1991).「文法的なヴォイスと語彙的なヴォイス」仁田義雄 (編),『日本語のヴォイスと他動性』(pp. 211-232). くろしお出版.
Kazuko Inoue 井上和子. (1976). 『変形文法と日本語・上』 大修館書店.
Kei Ishiguro 石黒圭. (2005). 『よくわかる文章表現の技術Ⅲ―文法編―』 明治書院.
Nihongokijutsubunpou Kenkyukai 日本語記述文法研究会. (2009).『現代日本語文法2』くろしお出版.
Sumire Goda 江田すみれ. (2019).「無対他動詞の受身と自動詞の関係―語義についての検討―」 日本語/日本語教育研究会(編), 『日本語/日本語教育研究』(pp.37-52). ココ出版.
Takashi Masuoka 益岡隆志. (1982). 「日本語受動文の意味分析」『言語研究』, 82, 48-64.
Takashi Masuoka 益岡隆志. (1991).「受動表現と主観性」『日本語のヴォイスと他動性』 くろしお出版.
Tasanee Methapisit タサニー メーターピスィット. (2000). 「タイ語の受動態と使役態の現れ方と動詞の分類」『言語・地域文化研究』, 6, 59-79.