จอมพลสฤษดิ์รอมชอม จอมพลถนอมยิงเป้า : ผู้นำเผด็จการทหารกับการจัดการปัญหาอาชญากรรมทางเพศในสังคมไทย (พ.ศ. 2500-2516)

Main Article Content

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ
วิศรุต พึ่งสุนทร

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ศึกษาการจัดการอาชญากรรมทางเพศในสังคมไทยสมัยรัฐบาลเผด็จการทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร ช่วงปี พ.ศ. 2500-2516 ซึ่งได้อาศัยอำนาจทางการเมืองและกระบวนการยุติธรรมเป็นเครื่องมือในการสร้างความสงบเรียบร้อยของสังคม แล้วนำเสนอต่อสาธารณชน เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของรัฐสมัยใหม่ แม้ทั้งสองรัฐบาลจะใช้กฎหมายเดียวกันในการควบคุมและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมทางเพศ แต่กลับมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าแต่ละรัฐบาลให้ความสำคัญกับการสร้างภาพลักษณ์ของตนอย่างไร

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฎหมายลักษณอาญา. (1 มิถุนายน ร.ศ. 127 (2451). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 25. หน้า 260-262.

กวดขันหนัง-ร้านตัดเสื้อฯ แก้ปัญหาวัยรุ่น/ ตามล่า ‘จิ๊กโก๋’ ทั่วกรุง. (27 กันยายน 2505). สารเสรี, น. 2.

กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554. (2555). ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). โพสต์บุ๊กส์.

ไกรวัลย์ ชูจิตต์. (2548). คนข่าวเล่าตำนาน. หลักไทช่างพิมพ์.

ขืนใจ-ฆ่าเปลือยนักเรียนสาวคลายปมตามตะครุบได้อีกสอง พบบาดแผลที่ของลับ!. (20 กุมภาพันธ์ 2504). ไทยรัฐฉบับเช้า, น. 1.

คณะกองบรรณาธิการเกียรติศักดิ์. (2507). จอมพลของคุณหนูๆ ฉบับสมบูรณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). จักรวาลการพิมพ์.

คึกฤทธิ์ ปราโมช, หม่อมราชวงศ์. (3 ธันวาคม 2514). สยามรัฐ, น. 5.

จอมพลสฤษดิ์ชี้เหตุรับเป็นนายก. (14 กุมภาพันธ์ 2502). ชาวไทย, น. 1.

จักรวาล ชาญนุวงศ์. (2507). ม.17 กับ 11 นักโทษประหาร. โรงพิมพ์ชัยชนะ.

จับฆาตกรฆ่า น.ร. เปลือยได้แล้ว รองอตร.นำกำลังจับ-ประชุมวิจัยคดีด่วน. (21 กุมภาพันธ์2504). สยามนิกร, น. 1-2.

ฉลอง สุนทรวาณิชย์. (2560). จ่าง รัตนะรัต วิทยาศาสตร์นาซี สุพันธุกรรมศาสตร์ และการตอน. ใน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, เครือข่ายประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และสังคมวิทยาภาคใต้, ฆาตกรรม อาชญากรรม และภาวะนอกกฎหมายในภาคใต้ของไทย: การสัมมนาวิชาการระดับชาติ เครือข่ายประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และสังคมศาสตร์ภาคใต้ ครั้งที่ 3 (น. 1-2). โรงพิมพ์กรีนโซน.

โฉมหน้าเมืองไทย ในปี 13 โดย ส. วร. (1 มกราคม 2513). ไทยรัฐ, น. 5.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2525). ยังเติร์กกับทหารประชาธิปไตย การวิเคราะห์บทบาททหารในการเมืองไทย. บรรณกิจ.

ใช้อำนาจหัวหน้าคณะปฏิวัติประหารในบริเวณที่เกิดเหตุ. (1 ธันวาคม 2514). เดลินิวส์.

ตำรวจเสนอหัวหน้าคณะปฏิวัติลงโทษผู้ต้องหาฆ่าคนตาย. (10 ธันวาคม 2514). ชาวไทย.

ถนอมเผยเคล็ดลับการครองเรือนแก่ นร.นายร้อยที่สำเร็จ อย่าชิงสุกก่อนห่าม และอย่าใช้อารมณ์หนุ่ม. (30 มกราคม 2505). ประชาธิปไตย, น. 4, 8.

ถนอมว่าอาจสั่งยิงเป้าอาชญากรคดีร้ายแรง. (19 พฤศจิกายน 2514). สยามรัฐ.

ทรงสุดา ยอดมณี, คุณหญิง. (2542). กังหันต้องลม. นานมีบุ๊คส์.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2552). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ (พรรณี ฉัตรพลรักษ์, ประกายทอง สิริสุข, ม.ร.ว., และ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์, ผู้แปล, พิมพ์ครั้งที่ 3). มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2502. (28 มกราคม 2502). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 76 ตอนที่ 17 ก. หน้า 1-8.

ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2515. (15 ธันวาคม 2515). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 89 ตอนที่ 192. หน้า 1-12.

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. (2550). บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2506-2516 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository. https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52989

นเรศ. ดร.จ่างเผยตอน “อันธพาล” มั่นใจตัดรากผู้คิดชั่วได้. (6 มิถุนายน 2502). พิมพ์ไทย.

นักข่าวสาวเตรียมฟ้องวิบูลย์. (4 มกราคม 2504). ไทยรัฐฉบับเที่ยงห้านาที, น. 1, 6.

นัดแถลงปิดสำนวนของจำเลย คดี ดร.วิบูล ปล้ำ “อนงค์” นักข่าว. (31 ธันวาคม 2503). พิมพ์ไทย, น. 2-3.

เนติบัณฑิตยสภา. (2504). คำพิพากษาฎีกาที่ 1685/2503. ใน ยล ธีรกุล (บรรณาธิการ). คำพิพากษาศาลฎีกา ประจำพุทธศักราช 2503 (น. 1829-1833). โรงพิมพ์ไทยพิทยา.

เนติบัณฑิตยสภา. (2505). คำพิพากษาฎีกาที่ 85/2504. ใน ยล ธีรกุล (บรรณาธิการ). คำพิพากษาศาลฎีกา ประจำพุทธศักราช 2504 (น. 25-29). โรงพิมพ์ไทยพิทยา.

เนติบัณฑิตยสภา. (2506). คำพิพากษาฎีกาที่ 1730/2506. ใน บัญญัติ สุชีวะ (บรรณาธิการ). คำพิพากษาศาลฎีกา ประจำพุทธศักราช 2506 ตอน 4 (น. 2109-2115). โรงพิมพ์ไทยพิทยา.

เนติบัณฑิตยสภา. (2510). คำพิพากษาฎีกาที่ 250/2510. ใน ประพนธ์ ศาตะมาน (บรรณาธิการ). คำพิพากษาศาลฎีกา ประจำพุทธศักราช 2510 ตอน 2 (น. 196-205). แสงทองการพิมพ์.

เนติบัณฑิตยสภา. (2516). คำพิพากษาฎีกาที่ 1922-1923/2514. ใน จำรัส เขมะจารุ (บรรณาธิการ). คำพิพากษาศาลฎีกา ประจำพุทธศักราช 2514 ตอน 4 (น. 1683-1685). โรงพิมพ์ไทยพิทยา.

น้ำเพชร. (2511). ศึกเวียตนามและคอมมิวนิสต์. โอเดียนการพิมพ์.

บุญส่ง เผ่าทรง. (2504). ปัญหาหญิงโสเภณีในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. Thammasat University Digital Collections. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:118039

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 1 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2501. (20 ตุลาคม 2501). ราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ. เล่ม 75 ตอน 81ก. หน้า 3-4.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2501. (20 ตุลาคม 2501). ราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ. เล่ม 75 ตอน 81ก. หน้า 7-9.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 4. (20 ตุลาคม 2501). ราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ. เล่มที่ 75 ตอนที่ 81. หน้า 10-16.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 8 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2501. (21 ตุลาคม 2501). ราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ. เล่ม 75 ตอน 83ก. หน้า 4.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 1. (18 พฤศจิกายน 2514). ราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ. เล่มที่ 88 ตอนที่ 124. หน้า 1-2.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 2. (18 พฤศจิกายน 2514). ราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ. เล่มที่ 88 ตอนที่ 124. หน้า 3.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 11. (21 พฤศจิกายน 2514). ราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ. เล่ม 88 ตอน 127. หน้า 1-21.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43. (10 มกราคม 2502). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 76 ตอน 5. หน้า 1-2.

ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 299. (12 ธันวาคม 2515). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 89 ตอน 189. หน้า 12-27.

ประกาศ วัชราภรณ์. (2550). เสด็จฯ เยือน 14 ประเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 3). อมรินทร์.

ประเสริฐ รุจิรวงศ์. (2507). งานเลิกโสเภณี. ใน ประวัติและผลงานของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์, พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2507. โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี.

ประหารในคุกบางขวางเช้าวันนี้ ผู้ร่วมสมคบถูกตลอดชีวิต- 25 ปี-15 ปี. (9 กุมภาพันธ์ 2515). ไทยรัฐ, น. 1, 16.

ประหารอธิป-เมียโผกอดร้องไห้โฮ อธิปยอมตายไม่ถวายฎีกา. (12 ธันวาคม 2503). เสียงอ่างทอง, น. 1.

ปราโมทย์ สุดนิคม. (2516). 24 คดีเขย่าขวัญ ระหว่างใช้กฎอัยการศึก. ส. พยุงพงศ์.

ปรีดี หงษ์สต้น. (2558). เชือดไก่ให้ลิงดู: รัฐไทยกับการทำลายศัตรูด้วยนาฏกรรม. วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 1(2), 53-99.

เปรมชัย พริ้งศุลกะ. (ม.ป.ป.). มาตรา 17 ในยุคมืด. กรุงสยามการพิมพ์.

พตอ. ราชองครักษ์เห็นกลับถูกข่มว่าเป็นศิษย์. (27 ธันวาคม 2503). พิมพ์ไทย, น. 2.

พระราชบัญญัติปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2503. (1 พฤศจิกายน 2503). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 77 ตอนที่ 89. หน้า 894-900.

พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509. (4 ตุลาคม 2509). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 83 ตอนที่ 88. หน้า 626-639.

พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499. (15 พฤศจิกายน 2499). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 77 ตอนที่ 95 ฉบับพิเศษ. หน้า 1-171.

เพี้ยน อันชูฤทธิ์. (2524). รัฐบาลไทย : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ปัญหาเสถียรภาพของรัฐบาล ที่มาจากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2498-2514 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30851

ภาวิณี บุนนาค. (2563). รักนวลสงวนสิทธิ์. มติชน

รายละเอียด ‘สมศักดิ์’ฆาตกรฆ่าเปลือยสารภาพกรีดของลับแล้วยิงสมอง นายแพทย์ ผอ.ร่ำไห้ถาม ‘ฆ่าน้องผมทำไม’. (30 ธันวาคม 2512). ไทยรัฐ, น. 1, 16.

เรียง ‘คิว’ ขืนใจนวลฉวีแล้วฆ่า ตรึงเมืองนนท์ล่ามืดมีดที่อธิปจ้างสังหาร. (29 ตุลาคม 2502). ไทยรัฐ, น. 1.

ลงมติใช้ ม.17 อายัดมรดก กก.กฤษฎีกาถกเถียง 4 ชม.ลงคะแนนลับชนะ 25-22 เสียง 7 ทายาทมอบชมพูเป็นตัวแทนร่วมมือรัฐบาล. (13 มิถุนายน 2507). ไทยรัฐ, น. 1, 16.

ลัดดา. (2510). ครอบสังคม ตอบปัญหาเอ็กซ์คลูซีพ. โอเดียนสโตร์.

วิบูล ธรรมวิทย์. (2489). ปัญหาอาชญากรรมและการศึกษาแห่งประเทศไทย. ร.จ.ก. ประจำเขตต์คลองเปรม.

ศรัญญู เทพสงเคราะห์. (2564). จากการคุมขังสู่การแก้ไขฟื้นฟู: การเปลี่ยนแปลงของการราชทัณฑ์ไทยสมัยใหม่ พ.ศ. 2433-2506 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository. https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79068

สัมภาษณ์พลเอกประภาส จารุเสถียร. (10 สิงหาคม 2506). ไทยรัฐ, น. 1, 2.

สุดสงวน สุธีสร. (2543). เหยื่ออาชญากรรม. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สุรชัย เศรษฐิศักโก. (20 สิงหาคม, 2515). สยามรัฐ. น.

สำรวจโสเภณี. (24 กรกฎาคม 2507). ไทยรัฐ, น. 16

หลวง กลางกรุง. “การสั่งยิงเป้าฆาตกรฆ่าฝรั่งที่สัตตหีบก็เพื่อให้บรรดาเหล่าร้ายได้รู้เห็นเป็นตัวอย่างเข็ดขยาดเลิกประพฤติเป็นภัยร้ายแรงต่อสังคม,” (4 ธันวาคม 2514). เดลินิวส์.

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2502). [เอกสารกระทรวงมหาดไทย]. สถิติคดี (มท 0201.2.1/882). สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (9 พฤศจิกายน-7 ธันวาคม, 2503). [เอกสารทบวงมหาวิทยาลัย]. ศาลแขวงพระนครเหนือขอให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดส่งพยานเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาคดีอาญาระหว่าง ดร.วิบูล ธรรมวิทย์ โจทก์ และนางอนงค์ เมษประสาท จำเลย (ทม. 4.1.1.11/9). สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (17 มิถุนายน-9 สิงหาคม, 2508). [เอกสารสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย]. การแถลงข่าวเกี่ยวกับปฏิบัติการของเครื่องบินสหรัฐในประเทศไทย ((1) มท.3.1.5.18/5). สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (5-16 เมษายน 2511). [เอกสารสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย]. ทหารอเมริกันฆาตกรรมสตรี ((1) มท.3.1.5.7/272). สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำรวจโสเภณี. (24 กรกฎาคม 2507). ไทยรัฐ, น. 16.

อรสม สุทธิสาคร. (2532). ชีวิตรักนวลฉวี : ย้อนรอยตำนานพยาบาลสาวผู้พ่ายรัก. รวมทรรศน์.

อาชญากรรม: ตาต่อตา ฟันต่อฟัน. (ตุลาคม 2515). สังคมศาสตร์ปริทัศน์, น. 10-11.

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ. (2566). ใน “หนังสือปกขาว” มีวิมานสีชมพู : ภาพลักษณ์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ในหนังสือโป๊ทศวรรษ 2500 ถึงต้นทศวรรษ 2510. ฟ้าเดียวกัน, 20(2), 125-149

Ahmed, S. (2004). The cultural politics of emotion. Edinburgh University Press.

Foucault, M. (1978). The history of sexuality, volume I: An introduction, translated from the French by Robert Hurley. Pantheon Books.

Foucault, M. (1984). The Foucault reader. Vintage Books.

Foucault, M. (1995). Discipline and punish: The birth of the prison. translated from the French by Alan Sheridan. Vintage Books.

Garland, D. (1991). Punishment and modern society: A study in social theory. Clarendon Press.

Horeck, T. (2004). Public rape: Representing violation in fiction and film. Routledge.

Lea, J. (2003). Crime & modernity: Continuities in left realist criminology. Sage.

Schafer, S. (1977). Victimology: The victim and his criminal. Reston.