การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวด้วยกระบวนการวิเคราะห์เชิงสัณฐานบนฐานนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชนเกาะลัดอีแท่น นครปฐม

Main Article Content

ฐปณี รัตนถาวร
พรชัย จิตติวสุรัตน์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวด้วยกระบวนการวิเคราะห์เชิงสัณฐานบนฐานนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่น ในชุมชนเกาะลัดอีแท่น นครปฐม การวิจัยใช้แนวคิดทฤษฎีด้านสัณฐานวิทยาเมืองและเครื่องมือวิเคราะห์เชิงสัณฐานพื้นที่สเปซซินแท็กซ์ ร่วมกับการวิเคราะห์ลักษณะกิจกรรมทางสังคมวัฒนธรรม โดยวิธีการสำรวจพื้นที่และสังเกตการณ์อย่างไม่มีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาพบว่า เส้นทางท่องเที่ยวเป็นการผสานเส้นทางสัญจรทางบกและทางน้ำ ประกอบด้วย 3 เส้นทาง คือ เส้นทางท่องเที่ยว A: มุ่งเน้นด้านวิถีชีวิตและภูมิปัญญา เส้นทางท่องเที่ยว B: มุ่งเน้นด้านวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม และเส้นทางท่องเที่ยว C: มุ่งเน้นด้านภูมิศาสตร์และระบบนิเวศ ข้อเสนอแนะให้คำนึงขอบเขตและระดับในการเข้าถึงพื้นที่สาธารณะ พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ทางสังคมของชุมชน รวมถึงขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวเพื่อดำรงรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
รัตนถาวร ฐ. ., & จิตติวสุรัตน์ พ. . (2024). การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวด้วยกระบวนการวิเคราะห์เชิงสัณฐานบนฐานนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชนเกาะลัดอีแท่น นครปฐม. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24(1), 85–116. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/273760
บท
บทความวิจัย

References

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2561). การท่องเที่ยวโดยชุมชมอย่างยั่งยืน. TAT review magazine. https://tatreviewmagazine.com/article/cbt-thailand/

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. (2538). คู่มือพัฒนาภูมิทัศน์เมืองเพื่อการท่องเที่ยว. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐปณี รัตนถาวร และ พรชัย จิตติวสุรัตน์. (2564), กระบวนการเกิดสัณฐานศูนย์กลางของชุมชนตลาดริมน้ำลำพญา ลุ่มน้ำนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(2), 379-408. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.31

นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 18(1), 31-50. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/abc/article/view/54197/44987

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เพรส แอนด์ ดีไซน์.

วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2542). พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม: มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและวางแผน. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริภา มณีรัตน์ และ จุฑาทิพย์ เฉลิมผล. (2560). รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่เหมาะสมของเส้นทางสายแม่ริม-สะเมิง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. แก่นเกษตร, 45(พิเศษ1), 540-544.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2551). ทฤษฎีและกลยุทธ์การพัฒนาสังคม. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว. (ม.ป.ป.). คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร (พิมพ์ครั้งที่ 2). สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน, 2566, จาก https://chainat.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=788

สิงห์อำพล จันทร์วิเศษ, พิชัย ทองดีเลิศ, และ ชลาธร จูเจริญ. (2564). ความต้องการในการพัฒนาท่องเที่ยวเชิงเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่เกาะลัดอีแท่น อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วารสารแก่นเกษตร, 49(5), 1160-1170.

อนุกูล ตันสุพล. (2559). นิเวศวิทยาวัฒนธรรม : กุญแจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(1), 193-221.

Al Sayed, K., Turner, A., Hillier, B., Iida, S., & Penn, A. (2014). Space syntax methodology. The Bartlett School of Architecture, UCL.

Arif, Y. M., Putra, D. D., & Khan, N. (2023). Selecting tourism site using 6 As tourism destinations framework based multi-criteria recommender system. Applied Information System and Management (AISM), 6(1), 7-12. https://doi.org/10.15408/aism.v6i1.25140

Collier, A., & Harraway, S. (1997). Principles of tourism. Longman Paul.

Denzin, N. K. (2009). The Research Act: A Theoretical Introduction to Sociological Methods. Routledge. https://doi.org/10.4324/9781315134543

Ding, J., Gao, Z., & Ma, S. (2022). Understanding social spaces in tourist villages through space syntax analysis: Cases of villages in Huizhou, China. Sustainability, 14(19), 12376. https://doi.org/10.3390/su141912376

Goeldner, C. R., & Ritchie, J. R. B. (2012). Tourism: Principles, practices, philosophies. (12th ed.). John Wiley & Sons.

Hillier, B., & Hanson, J. (1984). The social logic of space. Cambridge University Press.

Hillier, B. (1996). Cities as movement economies. Urban Design International, 1, 41-60. https://doi.org/10.1057/udi.1996.5

Hillier, B. (2000). Centrality as a process: Accounting for attraction inequalities in deformed grids. Urban Design International, 3(4), 107-127. https://doi.org/10.1080/135753199350036

Hillier, B., Penn, A., Hanson, J., Grajewski, T., & Xu, J. (1993). Natural movement: Or, configuration and attraction in urban pedestrian movement. Environment and Planning B: Planning and Design, 20(1), 29-66. https://doi.org/10.1068/b200029

Koster, E. H. (1996). Science culture and cultural tourism. In M. Robinson, N. Evans, & P. Callaghan (Eds.), Tourism and cultural change: Tourism and culture towards the 21st century (pp. 227-238).The Center for Travel and Tourism and Business Education.

McDonagh, D. (2008). Do it until it hurts!. Design Principles and Practices An International Journal—Annual Review, 2(3), 103-110. https://doi.org.10.18848/1833-1874/CGP/v02i03/37554

Moulin, C. M. (1991). Cultural heritage and tourism development in Canada. Tourism Recreation Research, 16(1), 50-55. https://doi:10.1080/02508281.1991.11014602

Boonkham, P. (2011). Landscape urbanism - A concept for new era city. Journal of Government Housing Bank, 17(65), 43-47.

Rapoport, A. (1977). Human aspects of urban form: Towards a man-environment approach to urban form and design. Pergamon Press.

Turner, A., & Penn, A. (1999). Making isovists syntactic: Isovist integration analysis. In Universidad de Brasilia, Proceedings of the 2nd International Symposium on Syntax (pp. 01.1-01.9). https://www.spacesyntax.net/symposia-archive/SSS2/SpSx%202nd%20Symposium%2099%20-2003%20pdf/2nd%20Symposium%20Vol%201%20pdf/11%20Turner%20300.pdf

UNESCO (2006). Tourism, culture, and sustainable development. http://unesdoc.unesco.org/images/0014/001475/147578E.pdf