การวิเคราะห์อัตลักษณ์ท้องถิ่นในนิทานพื้นบ้านชนเผ่าหลีของจีน

Main Article Content

จ้าว เผิง
วีรวัฒน์ อินทรพร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์อัตลักษณ์ท้องถิ่นในนิทานพื้นบ้านชนเผ่าหลีของจีน โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและคัดเลือกนิทานพื้นบ้านชนเผ่าหลีของจีนจากหนังสือนิทานพื้นบ้านที่ตีพิมพ์และเผยแพร่ในสาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน 119 เรื่องผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านวิถีชีวิต ชนเผ่าหลีสร้างที่อยู่อาศัยจากทรัพยากรธรรมชาติบนเกาะไหหลำ ได้แก่ กระท่อมรูปทรงเรือ อาศัยอยู่ในถ้ำบนภูเขาหลีหมู่ การประกอบอาชีพของชาวหลีเชื่อมโยงกับธรรมชาติ ได้แก่ การปลูกข้าวซานหลาน การล่าสัตว์หาของป่าที่ภูเขาห้านิ้ว การปลูกมะพร้าว ส่วนการแต่งกายของชาวหลีสืบทอดมาตั้งแต่สมัยโบราณ ได้แก่ การโพกผ้าของผู้ชายชาวหลี การสวมสร้อยคอและห่วงโลหะของผู้หญิงชาวหลี 2) ด้านประเพณี เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและความเชื่อของบรรพบุรุษ ได้แก่ ประเพณีรอยสักของผู้หญิงชาวหลี การต้อนรับแขกด้วยเหล้าซานหลาน วันที่ 3 เดือน 3 การกินหมากพลู การแบ่งอาหารและการร้องเพลงสู่ขอ 3) ด้านเครื่องดนตรีและการร่ายรำ ชาวหลีสร้างเครื่องดนตรีจากธรรมชาติและของใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ลี่เล ติงตง ส่วนการร่ายรำที่เป็นอัตลักษณ์ ได้แก่ รำกระทบไม้ ระบำหาบเงิน 4) ด้านการใช้สมุนไพร ชาวหลีใช้ประโยชน์จากสมุนไพรบนเกาะไหหลำ ได้แก่ การใช้เปลือกงิ้วรักษาแผล การใช้สมุนไพรจับสัตว์ การดื่มน้ำมะพร้าวเยียวยาจากภายใน และการใช้ไม้กฤษณา 5) ด้านการให้เกียรติผู้หญิงเป็นผู้นำ ผู้หญิงอาวุโสได้รับความนับถือจากชาวหลีให้เป็นประธานในพิธีกรรมรอยสัก 6) ด้านภูมิปัญญา ชนเผ่าหลีสืบทอดวิธีการปลูกข้าวซานหลานมาจนถึงปัจจุบัน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เผิง จ., & อินทรพร ว. (2024). การวิเคราะห์อัตลักษณ์ท้องถิ่นในนิทานพื้นบ้านชนเผ่าหลีของจีน. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24(1), 325–353. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/272742
บท
บทความวิจัย

References

ณัฐพงศ์ รักงาม. (2559). แนวคิดอัตลักษณ์ท้องถิ่นภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 5(2), 1-14.

พงษ์ศักดิ์ คนขยัน. (2552). การศึกษาอัตลักษณ์ที่ปรากฏในนิทานไทใหญ่ อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ [การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554). ชนกลุ่มน้อยในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและสถานภาพการศึกษาในประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 7(2), 46.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2559). นานาภาษาในประเทศจีนตอนใต้ 2: ภาษาตระกูลไท เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 1). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ลภัสรินทร์ ฉัตรวังคีรี. (2563). อัตลักษณ์พื้นถิ่นในบันเทิงคดีล้านนา (พ.ศ.2521-2554) (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2542). คนไทและเครือญาติในมณฑลไหหลำและกุ้ยโจวประเทศสาธารรัฐประชาชนจีน (พิมพ์ครั้งที่ 1). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุทุมพร ศรีโยม. (2565). การพัฒนาตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์สำหรับข้าวพันธุ์พื้นเมืองสะท้อนอัตลักษณ์ท้องถิ่นบ้านโคกสูง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารรัชต์ภาคย์, 16(45), 66-82.

Chen, H. (2003). Effects of Litchi Age and Winter Temperature on Flowering Habits in Southern Florida. World Tropical Agriculture Information, 2003(8), 25.

Chen, Z., Ni, G., & Zhou, H. (2018). The History, value, conservation and utilization of the Shanlan rice in Li ethnic regions of Hainan province. Journal of Guangxi University for Nationalities, 40(4), 82-87.

Cheng, L. (2014). Unique Li Nationality Wine Culture. Baikezhishi, 1(15), 55-56.

Feng, F. (2014). Chemical constituents from the barks of Bombax malabaricum. Lishizhen Medicine and Mate Ria Medical Research, 25(12), 2826-2827.

Feng, J. (2020). The dissemination and recreation of Li folk tales in animated films. Journal of News Research, 11(5), 18.

Fu, C. (2011). The Symbolic meaning of Li People’s Tattoo. Journal of Qiongzhou University, 18(6), 16-20.

Fu, Z. & Su, H. (1982). Li people folklore. Huacheng Press.

Gong, L. (2017). A study of Hainan Folk festivals: A case study of Li people and the Miao mationality in March 3. Xijuzhijia, 1(2), 258-259.

Gong, T., & Li, Z. (2022). Simple practical wisdom: A study on the construction techniques of the floor boat-shaped house of the Li ethnic group in Hainan. ZHUANGSHI Folk Art and Culture, 354(10), 88-93.

He, H. (2023). Study on bamboo and wood musical instruments of Li under the cultural integration. The Journal of South China Sea Studies, 9(2), 111-118.

Huang, X. (2019). Study of the legends of the Li people in Hainan [Doctoral dissertation]. Minzu University of China.

Li, D., & Guo, L. (2023). Hainan agarwood: A hundred Billion-Yuan industry on the rise (1st ed.). Jingjicankaobao Press.

Liang, L. (2016). Ethnobotantical study on wild vegetable resources of Li minority in Wuzhishan region of Hainan. Journal of Qiongzhou University, 23(2), 60-65.

Long, M., & Huang, S. (2002). Li people folklore. Nanhai Press.

Luo, W. (2019). Research on the inheritance and protection of traditional brocade craft of Li nationality [Doctoral dissertation]. South-Central University for Nationalities.

Ma, Q., & Du, L. (2020). A study on the influence of Li folk tales on the development of folk culture in Hainan. Social fabric, 1(3), 172.

Muramaru, N. (2020). Japanese Folk Tales (1st ed.). Sripanya.

Shan, W. (2022). The predicament and countermeasures of the inheritance and development of marriage custom culture in Li people under the rural revitalization strategy -- Take the Li nationality’s “March 3” as an example. The Fusion of Literature and Travel, 1(25), 139-141.

Wang, W. (2009). The fifth of the intangible cultural heritage bamboo instruments, the colorful Hainan Li people bamboo instrument - Li Le. Yueqi, 2009(9), 70-72.

Wang, X. (2018). The description and study of the Li people’s tattooing by foreign and Chinese personages during the republic of China. Journal of Hainan Normal University, 4(31), 124-131.

Wu, M. (2003). Classification and introduction of Li people dance. Journal of Qiongzhou University, 10(6), 59-63.

Xing, Z. (2012). Exploration on betelnut culture of GaoShanZu of Taiwan and Li minority of Hainan. Journal of Qingyuan Polytechnic, 5(1), 1-8.

Yang, D. (2013). Study on spatial morphology of traditional settlement and architecture in Hainan island [Doctoral dissertation]. South China University of Technology.

Yang, L. (2013). Hemu and reproduction of local society: The anthropological inspection of highland Li people in Hainan [Doctoral dissertation]. Shanghai University.

Yang, Y. (2013). Study on the toxicology of derris root dust, a botanical insecticide for controlling red imported fire ant. Guangdong Agricultural Sciences, 1(21), 91-107.

Yao, L. (2003). Brief talk on female folk cultures of Li nationality on Hainan island. Journal of the Central University for Nationalities, 6(30), 51-55.

Zhang, L. (2019). The construction of symbolic sign of Hainan in the context of new media: A case study on the symbol of coconut in the new media of Hainan daily and Baidu news [Master’s thesis]. Hainan University.