อาหารญี่ปุ่น (วาโชะคุ) ในฐานะมรดกโลกและการสนับสนุนจากรัฐบาลให้เป็นมรดกโลกอย่างยั่งยืน

Main Article Content

กมลาสน์ กีรตินันท์วัฒนา

บทคัดย่อ

ปัจจุบันวาโชะคุหรืออาหารญี่ปุ่นเป็นสัญลักษณ์สำคัญของประเทศญี่ปุ่นเพราะได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกด้วยองค์ประกอบ ดังนี้  1) เคารพธรรมชาติ 2) มีโภชนาการและสารอาหารครบถ้วน 3) เป็นอาหารที่ตกแต่งสวยงาม 4) เป็นอาหารที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรม ประเพณี และเทศกาลต่าง ๆ บทความวิชาการฉบับนี้ได้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับนิยามและองค์ประกอบ เอกลักษณ์ของวาโชะคุในการพิจารณาขององค์กรยูเนสโกไว้อย่างละเอียด กล่าวคือวาโชะคุมีความโดดเด่นในเรื่องการใช้วัตถุดิบตามธรรมชาติสร้างสรรค์งานได้อย่างลงตัว เป็นอาหารมีประโยชน์เพื่อสุขภาพมีความสวยงาม และเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมที่ดีงาม เพื่อขยายความจุดเด่นที่องค์กรยูเนสโกได้กำหนดให้วาโชะคุกลายเป็นมรดกโลก จากการรวบรวมข้อมูลค้นพบว่า วาโชะคุหรืออาหารญี่ปุ่นมีจุดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ อันมีความเชื่อมโยงกับแนวทางในการบริหารและจัดการของหน่วยงานต่าง ๆ ที่สนับสนุนวาโชะคุให้เป็นอาหารของโลก บทความนี้จะทำให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับวาโชะคุได้เรียนรู้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมวิทยาศาสตร์บริการ. (2530). มิโซะ (Miso) อาหารราคาถูกแต่ทรงคุณค่าของญี่ปุ่น. วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ, (113), 29-32.

ณัฐหทัย คงพิทยาพันธุ์. (2560). พิซซ่าญี่ปุ่น กับ โอะโคะโนะมิยากิ : มุมมองอาหารญี่ปุ่นจากทัศนะของชาวญี่ปุ่นกลุ่มหนึ่งในสังคมไทย [รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. Silpakorn University Repository: SURE.

โนะบุโอะ ฮาราดะ. (2563). วาโชะคุคืออะไร เจาะลึกวัฒนธรรม ความอร่อยอุมามิ (สรัญญา คงจิตต์, ผู้แปล). วนิดาการพิมพ์. (ต้นฉบับพิมพ์ปี 2557).

พัชรา สายวิเชียร. (2550). วัฒนธรรมอาหารของครอบครัวญี่ปุ่น [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]. CMU Intellectual Repository.

สุดสวาท จันทร์คำ. (2554). ความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวและการเพาะปลูกข้าว. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 17(2), 39-62.

สิรินารถ สุวรรณโภคิน. (2562). แผนธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น “คุจิคัตสึ” [วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. DSpace BU Research.

Ehara, A. (2015). Washoku culture inscribed on the UNESCO’s intangible cultural heritage list, and the way of the protection and promotion. Journal of Cookery Science of Japan, 48(4), 320-324. (in Japanese)

Farina, F. (2018). Japan’s gastrodiplomacy as soft power: Global washoku and national food security. Journal of Contemporary Eastern Asia, 17(1), 131-146.

Kakiuchi, E. (2016). Cultural heritage protection system in Japan: Current issue and prospects for the future. Gdansk East Asian Studies, 10, 7-27. https://doi.org/10.4467/23538724GS.16.013.6170

Kumakura, I. (2014a). Washoku: Balanced and healthy. Food Forum, 28(2), 1-8. https://www.kikkoman.com/en/foodforum/the-japanese-table/28-2.html

Kumakura, I. (2014b). Washoku: Respect for nature. Food Forum, 28(1), 1-8. https://www.kikkoman.com/en/culture/foodforum/the-japanese-table/28-1.html

Kumakura, I. (2015). Washoku: Social customs and observances. Food Forum, 28(4), 1-8. https://www.kikkoman.com/en/foodforum/the-japanese-table/28-4.html

Kordzinska-Nawrocka, I. (2019). Japanese culinary culture and identity. Analecta Nipponica Journal of Polish Association for Japanese Studies, 9, 61-73.

Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries. (2007). Selection of 100 regional dishes. https://www.maff.go.jp/j/nousin/kouryu/kyodo_ryouri/panf.html (in Japanese)

Minister of Agriculture Forestry and Fisheries. (2016). Further spreading the appeal of Japanese food to the world. https://www.maff.go.jp/result.html

Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries. (2022). Japanese food is registered as a Unesco Intangible Cultural Heritage. https://www.maff.go.jp/j/keikaku/syokubunka/ich/ (in Japanese)

Morisaki M., & Suda, F. (2017). Market agencements of Japanese food cultures. In Societe Francaise d’economie rurale, 11es Journées de Recherches en Sciences Sociales (pp. 1-15). Lyon.

Sato, Y., & Al-alsheikh, A. (2014). Comparative analysis of the Western hospitality and the Japanese omotenashi. Kwansai Gakuin University Graduate School of Business Strategy, Business & Accounting Review, (14), 1-15. (in Japanese)

Sato, Y., Hiraiwa, H., & Al-alsheikh, A. (2014). Characteristic of Japanese omotenashi: in relation with development of Japanese kaiseki cuisine based on tea ceremony. Kwansai Gakuin University Graduate School of Business Strategy, Business & Accounting Review, (14), 17-37. (in Japanese)

Ueda, H., & Niiyama, Y. (2019). Articulating challenges in defining Japanese washoku and French gastronomy: Comparative analysis of inscribed definitions and their safeguarding measures. Journal of food system research, 26(3), 144-164.

United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (2013). Washoku, traditional dietary cultures of the Japanese, notably for the celebration of New Year. https://ich.unesco.org/en/RL/washoku-traditional-dietary-cultures-of-the-japanese-notably-for-the-celebration-of-new-year-00869