แนวคิดอุมมะฮ์กับการประยุกต์ใช้ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Main Article Content

สามารถ ทองเฝือ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเรื่องแนวคิดอุมมะฮ์กับการประยุกต์ใช้ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดอุมมะฮ์ที่ได้ระบุไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน และศึกษาแนวคิดอุมมะฮ์กับการนำไปปรับใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตลอดจนเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในโลกมุสลิมได้อย่างมีประสิทธิผล ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่อาศัยการศึกษาข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือวิจัยที่สำคัญคือการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยการเจาะจงผู้ให้สัมภาษณ์ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติศาสตร์  อิสลาม รัฐศาสตร์ มุสลิมศึกษาและกระแสโลกปัจจุบัน โดยใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา สำหรับผลจากการวิจัยพบว่าในอัลกุรอานนั้นได้มีการระบุถึงแนวคิดอุมมะฮ์ไว้หลายตำแหน่ง โดยให้ความหมายที่หลากหลายตามบริบทและการตีความ ตลอดจนแนวคิดอุมมะฮ์สามารถประยุกต์ใช้กับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้จริง เนื่องจากเป็นแนวคิดที่ผสานให้ผู้คนมารวมตัวกันโดยไม่มีข้อจำกัดในเรื่องดินแดน ชาติพันธุ์ ภาษา เป็นต้น นอกจากนี้การจะนำแนวคิดอุมมะฮ์มาปรับใช้ได้อย่างสมบูรณ์ได้นั้นจะต้องอาศัยความร่วมมือจากนานาประเทศมุสลิมในการตระหนักถึงหลักการที่แท้จริงของอุมมะฮ์และนำมาประยุกต์ใช้ให้ครอบคลุมทั้งในด้านการเมือง สังคมวัฒนธรรม และเศรษฐกิจ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ทองเฝือ ส. (2024). แนวคิดอุมมะฮ์กับการประยุกต์ใช้ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24(1), 60–84. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/271587
บท
บทความวิจัย

References

จรัญ มะลูลีม. (11 พฤศจิกายน 2563). จุดเริ่มต้นของ “อุมมะฮ์”. มติชนสุดสัปดาห์. https://www.matichonweekly.com/column/article_368838

จุฑาทิพ คล้ายทับทิม. (2551). หลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ซุฟอัม อุษมาน. (2558). อิสลามคือระบอบแห่งการดำเนินชีวิต. Islammore. https://www.islammore.com/view/3194

เดโช สวนานนท์. (2545). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. หน้าต่างสู่โลกกว้าง.

สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับประเทศไทย. (2545). พระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่าน พร้อมความภาษาไทย. ศูนย์กษัตริย์ฟาฮัด เพื่อการพิมพ์อัลกุรอาน.

อิมรอน ซาเหาะ และ ยาสมิน ซัตตาร์. (2558). อิสลามการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 10(2), 65-88.

อิสมาอีล กอเซ็ม. (2558). การเป็นประชาชาติเดียวกัน (อุมมะห์วาฮิดะฮ์). Islammore. https://www.islammore.com/view/4258

อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา. (2549). อิสลาม ศาสนาแห่งสันติภาพ (ซุฟอัม อุษมาน, ผู้แปล). สํานักงานความร่วมมือเพื่อเผยแพร่และสอนอิสลามอัร-ร็อบวะฮฺ.

Ahmed, I. (2002). Rise and decline of the Muslim Ummah. Markazi Anjuman Khuddam-ul-Qur'an.

Ahsan, A. (1992). Ummah or nation identity crisis in contemporary Muslim society. The Islamic Foundation.

Asad, M. (1980). The message of the Quran. Dar al-Andalus.

As-Sayyid, R. (1984). Al-Ummah wal-jama’a was-sulta. Dar Iqra.

Habermas, J. (1998). The European nation-state: On the past and future of sovereignty and citizenship (C. Cronin, Trans.). Public Culture, 10(2), 399-416.

Hasan, M. (2011). Manifestations of globalization manifestations of globalization. Journal of Globalization Studies, 146-159.

Hassan, R. (2018). Religion, modernization and the Islamic Ummah. Jurnal Al-Tamaddun, Bil, 13(1), 57-64.

Hourani, A. (1992). A history of the Arab peoples. Warner Books.

Hussain, T. (2013). Principles of the Islamic political system. The Quranic Teachings. http://www.quranicteachings.org

Jomaa , K. A. (2021). Ummah a new paradigm for a global world. State University of New York Press.

Khan, M. A., & Nadvi, M. J. (2022). Foundations of political-collaboration between Muslim countries. academia.edu. https://www.academia.edu/4040862/Foundations_of_Political_Cooperation_between_Muslim_Countries

Moses, J. W. (2006). The Ummah of democracy. Security Dialogue, 37(4), 489-508.

Moten, A. R. (1996). Political science: An Islamic perspective. Palgrave Macmillan.

Naruzzaman, M. (2018). Western and Islamic international theories: A comparative analysis. International Studies, 55(2), 114-115.

Shariati, A. (1979). On the sociology of Islam: Lectures Hamid Algar (H. Algar, Trans.). Mizan press.

Thiry, L. (1981). Nation, state, sovereignty and self-determination. Peace Research, 13(1), 18-19.