อุดมการณ์และวิถีปฏิบัติทางสังคมจากการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยในการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.)

Main Article Content

อำนาจ ปักษาสุข
พรทิพย์ เฉิดฉินนภา
อนุชิต ตู้มณีจินดา

บทคัดย่อ

จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ทำให้เกิดปรากฏการณ์การใช้ภาษาอังกฤษปนในภาษาไทยเป็นจำนวนมาก ที่ผ่านมามีความพยายามอย่างต่อเนื่องของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาไทยพยายามป้องกันการปนภาษาต่างประเทศในภาษาไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการสื่อสารของหน่วยงานภาครัฐ โดยมีความเชื่อว่าการปนภาษาจะทำให้ภาษาไทยวิบัติ อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์แบบสอบถามจากผู้ตอบสอบจำนวน 421 คนพบว่า การสื่อสารโดยมีการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ไม่ได้เป็นปัญหาสำหรับผู้รับสารที่เป็นกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม ในทางกลับกันการใช้ภาษาอังกฤษปนในภาษาไทยกลับช่วยให้การสื่อสารชัดเจน ตรงประเด็น และใช้คำน้อยกว่าเมื่อใช้ภาษาไทย โดยเฉพาะเมื่อเกี่ยวข้องกับศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ การรักษา และเครื่องมือทางการแพทย์ ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้เป็นลักษณะเฉพาะของการสื่อสารในภาวะวิกฤตที่มุ่งส่งสารไปยังผู้รับสารจำนวนมากได้อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ผลจากการวิจัยสะท้อนให้เห็นถึงบทบาทที่สำคัญของภาษาอังกฤษในสังคมไทย รวมไปถึงอุดมการณ์เกี่ยวกับความบริสุทธิ์ของภาษาและวิถีปฏิบัติทางสังคมของไทยที่เปลี่ยนแปลงไป โดยภาษาอังกฤษไม่ควรถูกมองว่าเป็นสิ่งที่ทำให้การใช้ภาษาวิบัติ แต่ควรถูกมองว่าเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การสื่อสารในภาวะวิกฤตเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในยุคโลกาภิวัตน์และในยุคที่ภาษาอังกฤษมีฐานะเป็นภาษากลางของโลก และสังคมในโลกส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะเป็นสังคมพหุภาษาและพหุวัฒนธรรมมากขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2566). สถานการณ์การผู้ป่วย COVID-19 ภายในประเทศ. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2566, จาก https://ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/

กระทรวงสาธารณสุข, กรมควบคุมโรค. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2565, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/faq_more.php

กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามัย. (2563). รายงานตัวชี้วัด กพร. กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2564, จาก https://apps.hpc.go.th/dl/web/upFile/2021/01-10140-20210131151114/300669a103e206196ceb0db80d33c9e2.pdf

คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2552). การใช้ภาษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คณาจารย์สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติ. (2553). ภาษาไทยกับการสื่อสาร (พิมพ์ครั้งที่ 5). ต้นไม้น้ำ.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2561). การวิเคราะห์ข้อความ (พิมพ์ครั้งที่ 2, แก้ไขปรับปรุง). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จันทิมา อังคพณิชกิจ, อธิชาติ โรจนะหัสดิน, และทรงพล อินทเศียร. (2563). ภาษา การสื่อสาร และโรคซึมเศร้า : การสำรวจเบื้องต้นเพื่อเข้าใจโรคซึมเศร้าและผู้มีภาวะซึมเศร้าในสังคมไทย. อมรินทร์ พริ้นติ้ง.

จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และ อารียา หุตินทะ (บรรณาธิการ). (2555). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

โชษิตา มณีใส. (2555). การใช้ภาษาไทยเพื่อประสิทธิผล (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณฐวัฒน์ คณารักสมบัติ. (2563). กลยุทธิ์การสื่อสารสุขภาพทางสื่อโฆษณาออนไลน์ในช่วง การระบาดของไวรัสโควิด-19. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 9(2), 160-171.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์ : แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณิษาพัชร์ ประสงค์มงคล, สุภาภรณ์ ศรีดี, กานต์ บุญศิริ, และสมาน งามสนิท. (2566). การสื่อสารในภาวะวิกฤตการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผ่านเฟซบุ๊กไทยรู้สู้โควิดของกระทรวงสาธารณสุข. วารสารศิลปการจัดการ, 7(1), 227-247.

ทิพย์สุดา นัยทรัพย์. (2535). ตำรา-เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 58 หน่วยศึกษานิเทศก์กรมการฝึกหัดครู : ภาษากับวัฒนธรรม. โรงพิมพ์การศาสนา.

ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์สุข, รัตนา บุญอ่วม, กานต์ บุญศิริ, และสมาน งามสนิท. (2565). การสื่อสารในภาวะวิกฤตโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประเทศไทย. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 7(2), 32-40.

ปรารถนา กาลเนาวกุล. (2544). การปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยของรายการโทรทัศน์ : ลักษณะ ทัศนคติ การรับรู้และแรงจูงใจ. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี.

พรรณทิวา อินต๊ะ. (2555). การปนภาษาอังกฤษในนิตยสารภาษาไทย. พิฆเนศวร์สาร, 8(1), 33-42.

ภวินท์ ศรีเกษมสุข และ ธาตรี ใต้ฟ้าพูล. (2563). กลยุทธ์การสื่อสารภายในองค์กรในภาวะวิกฤตของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย. วารสารนิเทศศาสตร์, 38(1), 53-68.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2561). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร หน่วยที่ 1-7 (พิมพ์ครั้งที่ 3). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เมธาวี จำเนียร และ เมธี แก้วสนิท. (2561). การสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะที่ดีของคนในชุมชน. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 24(2), 155-166.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 2). ราชบัณฑิตยสถาน.

วรทัย ราวินิจ. (2565). การวิเคราะห์เนื้อหาการสื่อสารสุขภาพภายใต้ภาวะวิกฤตเกี่ยวกับ โควิด-19 ของกรมควบคุมโรค. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 26(2), 53-65.

ศิริพร ภักดีผาสุข. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิโรดม มณีแฮด และ สรัญญา เชื้อทอง. (2563). การสื่อสารสุขภาพของกรมควบคุมโรคโดยใช้การเล่าเรื่องด้วยสื่ออินโฟกราฟิกในสถานการณ์โควิด-19. วารสารการสื่อสารมวลชน, 8(2), 91-119.

หนึ่งหทัย ขอผลกลาง และ กิตติ กันภัย. (2553). งานวิจัยด้านการสื่อสารสุขภาพ: กลไกใน การพัฒนาสังคม. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 4(1), 65-77.

อนุชิต ตู้มณีจินดา, อำนาจ ปักษาสุข, และ พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2565). ลักษณะการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.). วารสารศิลปศาสตร์, 22(3), 492-510.

อนุชิต ตู้มณีจินดา. (2565). พหุพลวัตภาษาอังกฤษโลก : โอกาสและความท้าทาย. วารสารศิลปศาสตร์, 22(2), 410-437.

อนุชิต ตู้มณีจินดา. (2566). ภาษา (ศาสตร์) กับสังคมและการสอน. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรวี บุนนาค และ สมชาย สำเนียงงาม. (2561). กลวิธีการกลบเกลื่อนในการสื่อสารในภาวะวิกฤตผ่านเฟซบุ๊กองค์กรธุรกิจ. วรรณวิทัศน์, 18, 138-165.

Baker, W., & Ishikawa, T. (2021). Transcultural communication through Global Englishes: An advanced textbook for students. Routledge.

Bhatia, T. K., & Ritchie, W. C. (2004). Social and Psychological Factors in Language Mixing. In W. C. Ritchie & T. K. Bhatia (Eds.), Handbook of Bilingualism (pp.336-352). Blackwell Publishing.

Braun, V., & Clarke, V. (2006). Using thematic analysis in psychology. Qualitative Research in Psychology, 3(2), 77-101.

Canagarajah, S. (2013). Translingual practice: Global Englishes and cosmopolitan relations. Routledge.

Cavallaro, D. (2001). Critical and culture theory. The Athlone Press.

Fairclough, N. (1989). Language and Power. Longman.

Fairclough, N. (1995a). Critical discourse analysis: The critical study of language. Longman.

Fairclough, N. (1995b). Media discourse. Edward Arnold.

Grosjean, F. (1982). Life with two languages: An introduction to bilingualism. Harvard University Press.

Halliday, M. A. K. (1978). Language as social semiotics. Edward Arnold.

Heywood, A. (2012). Political Ideologies (5th ed.). Macmillan.

Holmes, J. (2013). An introduction to sociolinguistics (4th ed.). Routledge.

Jang, I. C., & Choi, L. J. (2020). Staying connected during COVID-19: The social and communicative role of an ethnic online community of Chinese international students in South Korea. Multilingua, 39(5), 541–552.

Jenkins, J. (2015). Global Englishes: A resource book for students (3rd ed.). Routledge.

Kim, E. (2006). Reasons and motivations for code-mixing and code-switching. Issues in EFL, 4(1), 43-61.

Li, D. C. S. (1996). Issues in bilingualism and biculturalism: A Hong Kong case study. Peter Lang.

Muysken, P. (2000). Bilingual speech: A typology of code-mixing. Cambridge University Press.

Piller, I., Zhang, J., & Li, J. (2020). Linguistic diversity in a time of crisis: Language challenges of the COVID-19 pandemic. Multilingua, 39(5), 503–515.

Snodin, N. S. (2014). English naming and code-mixing in Thai mass media. World Englishes, 33(1), 100-111.

van Dijk, T. A. (1995). Discourse semantics and ideology. Discourse & Society, 6(2), 243-289.

van Dijk, T. A. (1998). Ideology: A multidisciplinary approach. Sage.

van Dijk, T. A. (2006). Discourse and manipulation. Discourse & Society, 17(3), 359-383.

Watkhaolarm, P. (2005). Think in Thai, write in English: Thainess in Thai English literature. World Englishes, 24(2), 145-158.

Wigley, S., & Zhang, W. (2011). A study of PR practitioners use of social media in crisis planning. The Public Relations Journal, 5(3), 1-15.

Yamane, T. (1967). Statistics: An Introductory Analysis (2nd ed.). Harper and Row.

Zheng, Y. (2020). Mobilizing foreign language students for multilingual crisis translation in Shanghai. Multilingua, 39(5), 587–595.