การสร้างอัตลักษณ์ท้องถิ่นในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศญี่ปุ่น

Main Article Content

ธนภัส สนธิรักษ์
สร้อยสุดา ณ ระนอง
ยุพกา ฟูกุชิม่า
กุลรัมภา เศรษฐเสถียร

บทคัดย่อ

ประเทศญี่ปุ่นมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติด้านความสามารถอันโดดเด่นในการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศญี่ปุ่นประสบความสำเร็จในการเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติอย่างต่อเนื่อง โดยกลยุทธ์หนึ่งของรัฐบาลญี่ปุ่นคือ การสร้างอัตลักษณ์ท้องถิ่นเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ไปเยือนท้องถิ่นต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น บทความนี้จะศึกษาเกี่ยวกับรัฐบาลญี่ปุ่นกับแนวคิดเรื่องการสร้างอัตลักษณ์ ท้องถิ่นกับการปรับตัวเพื่อสร้างอัตลักษณ์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ตัวอย่างการสร้างอัตลักษณ์ในท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น รวมถึงการก่อตั้งองค์การจัดการจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยว (DMO) แบบฉบับญี่ปุ่น ซึ่งเข้ามามีบทบาทสำคัญในการช่วยสนับสนุนภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อสร้างอัตลักษณ์ท้องถิ่น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
สนธิรักษ์ ธ., ณ ระนอง ส., ฟูกุชิม่า ย., & เศรษฐเสถียร ก. (2023). การสร้างอัตลักษณ์ท้องถิ่นในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศญี่ปุ่น. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(1), 570–585. https://doi.org/10.14456/lartstu.2023.24
บท
บทความวิชาการ

References

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2550). อัตลักษณ์ (๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๐). http://legacy.orst.go.th/?knowledges=อัตลักษณ์-๑๖-มิถุนายน-๒๕

Morgan, N., Pritchard, A., & Pride, R. (Eds.). (2004). Destination Branding (2nd ed.). Elsevier Butterworth-Heinemann.

Oba, Y. (2018). Regional identity in a tourism-dependent country: The case of tourism education in Okinawa. Journal of Yasuda Women’s University, 46, 91-98.

Paasi, A. (2011). The region, identity, and power. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 14, 9-16.

World Economic Forum. (2019). The Travel & Tourism Competitiveness Report 2019. World Economic Forum.

World Tourism Organization. (2019). UNWTO Guidelines for Institutional Strengthening of Destination Management Organizations (DMOs) – Preparing DMOs for New Challenges. UNWTO.

World Tourism Organization. (2020). Methodological Notes to the Tourism Statistics Database, 2020 Edition. UNWTO.

阿比留勝利. (2010). まちづくりからの観光振興 参加と協働によるコミュニティの文化開発からの接近. 城西国際大学紀要, 18(6), 1-18.

石黒侑介. (2016). DMOの新たな地平. CATS叢書, 10, 51-55.

NPO法人地域情報化モデル研究会. (2015). 地域の埋もれた魅力を浮上させる青森県観光モデル. Future, 18, 109-113.

大野富彦. (2017). 日本版DMOの役割と課題に関する試論. 群馬大学社会情報学部研究論集, 24, 81-92.

河藤佳彦. (2009). 観光による新たな地域振興.分野別自治制度及びその運用に関する説明資料, 12, 1-17.

観光庁. (2015). 日本版DMO候補法人の登録開始について. https://www.mlit.go.jp/kankocho/topics04_000043.html

観光庁. (2022a). 観光地域づくり法人 (DMO) とは?. https://www.mlit.go.jp/kankocho/page04_000048.html

観光庁. (2022b). 登録一覧. https://www.mlit.go.jp/kankocho/page04_000054.html

高坂晶子. (2014). 地域における観光振興の在り方―国、自治体、民間の役割分担と取り組み―. JRIレビュー, 5(15), 77-91.

国土交通省. (2022). 独立行政法人国際観光振興機構 第四期中期目標. https://www.jnto.go.jp/jpn/about_us/reports/yonki_chuki_mokuhyo.pdf

小長谷一之・武田義則. (2011). 観光まちづくりにおける新しい概念・観光要素/リーダーモデルについて. 観光研究論集, 10, 27-37.

総務省. (2014). まち・ひと・しごと創生総合戦略について. https://www.soumu.go.jp/main_content/000332459.pdf

知的財産戦略本部 コンテンツ・日本ブランド専門調査会. (2009). 日本ブランド戦略~ソフトパワー産業を成長の原動力に~. https://dl.ndl.go.jp/view/download/digidepo_3531132_po_sankou1.pdf?contentNo=1&alternativeNo=

日本経済団体連合会. (2014). 国家ブランドの構築に向けた提言―ジャパン・ブランドを強化し世界と共に成長する―. https://www.keidanren.or.jp/policy/2014/093_honbun.pdf

日本政府観光局. (n.d.). 国籍/目的別 訪日外客数 (2004年~2021年). https://www.jnto.go.jp/jpn/statistics/tourists_2021df.pdf

真子和也. (2022). 観光地域づくり法人 (DMO) ―これまでの政策動向と論点―. 調査と情報―ISSUE BRIEF―, 1194, 1-14.

山崎治. (2015). 訪日外国人旅行者2000万人の実現に向けた観光施策―2020年の東京オリンピック開催を念頭に―. レファレンス, 768, 39-60.