การนัดหยุดงานของกรรมกรในกรุงเทพฯ สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

Main Article Content

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์
อนุสรณ์ ธรรมใจ

บทคัดย่อ

งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ 1) เพื่อศึกษาบริบทด้านแรงงานของกรรมกรรถราง กรรมกรรถลาก และกรรมกรขนข้าว ในสมัยพระปกเกล้าฯ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยการนัดหยุดงานของกรรมกรรถราง กรรมกรรถลาก และกรรมกรขนข้าว ในสมัยพระปกเกล้าฯ งานวิจัยนี้ใช้วิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า ทั้งสามกลุ่มกรรมกรต่อสู้เพื่อรักษาผลประโยชน์ด้านค่าแรงเป็นสำคัญ โดยมีปัจจัย 4 ประการที่ทำให้การนัดหยุดงานเกิดขึ้นได้ ประการแรกเป็นปัจจัยเศรษฐกิจตกต่ำ ประการที่สองเป็นปัจจัยค่าแรงและสวัสดิการของกรรมกร ประการที่สามเป็นปัจจัยผู้นำกรรมกร ประการที่สี่เป็นปัจจัยนโยบายรัฐบาล

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เพชรเลิศอนันต์ ธ., & ธรรมใจ อ. (2023). การนัดหยุดงานของกรรมกรในกรุงเทพฯ สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(1), 141–168. https://doi.org/10.14456/lartstu.2023.6
บท
บทความวิจัย

References

เจมส์ ซี อินแกรม. (2552). การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในประเทศไทย 1850 - 1970 (ชูศรี มณีพฤกษ์ และ เฉลิมพจน์ เอี่ยมกมลา, ผู้แปล). มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ฉลอง สุนทราวาณิชย์ และคณะ (บรรณาธิการ). (2541). ประวัติศาสตร์แรงงานไทย (ฉบับกู้ศักดิ์ศรีกรรมกร). ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชูศรี มณีพฤกษ์. (2550). นโยบายเศรษฐกิจของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. สถาบันพระปกเกล้า.

ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ. (2521). การผลิตและการค้าข้าวในภาคกลางตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2411 - 2475) [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรารถนา โกเมน. (2533). สมาคมชาวจีนในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2440 - 2488 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรีดี พนมยงค์. (2526). เค้าโครงการเศรษฐกิจและบันทึกบางประการที่เกี่ยวข้องกัน. ใน ปรีดี พนมยงค์กับสังคมไทย (น. 167-259). สำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เปรมา สัตยาวุฒิพงศ์. (2546). แรงงานรับจ้างชาวจีนในกรุงเทพฯ ตั้งแต่ พ.ศ. 2425 - 2492 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผาณิต ทรงประเสริฐ. (2521). นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตั้งแต่ พ.ศ. 2481-2487 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล. (2517). การใช้จ่ายเงินแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2453-68) [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระราชบัญญัติรถลาก รัตนโกสินทร์ศก 120. (2444). สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 1-10. https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=303801&ext=pdf

พรรณี บัวเล็ก. (2542). กุลีลากรถกับประวัติศาสตร์แรงงานไทย. เมืองโบราณ.

พรรณี บัวเล็ก. (2545). ลักษณะของนายทุนไทยในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2457 - 2482: บทเรียนจากความรุ่งโรจน์สู่โศกนาฏกรรม. พันธกิจ.

พอพันธ์ อุยยานนท์. (2558). เศรษฐกิจไทยในสมัยรัชกาลที่ 7: รักษาเสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา. คบไฟ.

มยุรี นกยูงทอง. (2520). ปัญหาเศรษฐกิจของไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2468 - 2477) [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวดี เจริญพงศ์. (2519). ปฏิกริยาของรัฐบาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อการเคลื่อนไหวตามแนวความคิดประชาธิปไตย และสังคมก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

หจช. ร.7 ม.4.4/3. (2472). บัญชีสำมะโนครัวพลเมืองทั่วพระราชอาณาจักร.

หจช. ร.7 ม.26.5. (2471). หนังสือพิมพ์.

หจช. ร.7 พ.12.1. (2474). เรื่องลดค่าแรงไฟฟ้า ค่าโดยสารรถราง แลเรื่องบริษัทจะเพิ่มเงินค่าเช่าทางเดินรถให้รัฐบาล.

หจช. ร.7 พ.12.1. (2468). บริษัทไฟฟ้าสยามขอเลิกรดน้ำถนนราชวงศ์.

หจช. ร.7 พ.12.1. (2469). บริษัทไฟฟ้าสยามคอปอเรชั่น.

หจช. (2) สร.0201.75 กรรมกรรถราง. (1). (2475). หนังสือผู้รั้งเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ถึงเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2475.

หจช. (2) สร.0201.75 กรรมกรรถราง. (2). (2475). หนังสือนายกสมาคมกรรมกรรถรางแห่งสยาม ถึงนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2475.

หจช. (2) สร.0201.75 ปึก 10 กรรมกร.

หจช. (2) สร.0201.75 ปึก 13 ตั้งเงินทุนหรือมูลนิธิทุนช่วยกรรมกร.

หลักเมือง. (2476). ข่าวหน้าแรกหนังสือพิมพ์ฉบับวันที่ 6, 9, 10, 14 สิงหาคม.

สังศิต พิริยะรังสรรค์. (2526). พัฒนาการขององค์การจัดตั้งกรรมกรในประเทศไทย พ.ศ. 2401 - 2475. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง, 3(2), 1-41.

ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์. (2542). ชีวิต ความคิด และการต่อสู้ของถวัติ ฤทธิเดช เมื่อแรงงานคิดหาญเปลี่ยนแปลงโลก. ใน ฉลอง สุนทราวาณิชย์ และคณะ. ประวัติศาสตร์แรงงานไทย (ฉบับกู้ศักดิ์ศรีกรรมกร) กุลีจีน-14 ตุลาฯ-วีรบุรุษกรรมกร (น. 153-242). ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เออิจิ มูราชิมา. (2562). ต้นกำเนิดลัทธิชาตินิยมจีนในสังคมชาวจีนในประเทศไทย. วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 6(2), 19-79.

Ingram, J. C. (1955). Economic Change in Thailand since 1850. Standford University Press.

Wongsurawat, W. (2020). The Crown and the Capitalists. Silkworm Books.