ภูมิปัญญาการประกอบสร้างคำในภาษาชาติพันธุ์ไท : การไล่เหลื่อมของหมวดหมู่ที่ซับซ้อนและทับซ้อน

Main Article Content

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการประกอบสร้างคำภาษาชาติพันธุ์ไทบริบทประเทศไทย โดยจำแนกและวิเคราะห์โครงสร้างหมวดหมู่และความสัมพันธ์ระหว่างหมวดหมู่ ข้อมูลได้จากคำเรียกบุคคล สัตว์ พืช สิ่งของ พิธีกรรม และความเชื่อต่าง ๆ ในภาษาไทย ไทดำ ไทครั่ง ไทใหญ่ ไทพวน ไทหล่ม ไทนครไทย และไทยวน จำนวนไม่ต่ำกว่า 2,000 คำ ผลการวิจัยปรากฏวิธีการประกอบสร้างคำ 7 วิธีหลัก ได้แก่ ความหมายซ้ำ ความหมายคล้ายคลึง ความหมายสอดคล้อง ความหมายเข้าคู่ ความหมายสมาชิกภาพ ความหมายตรงข้าม และความหมายเชิงวากยสัมพันธ์ ซึ่งแต่ละหมวดหมู่มีโครงสร้างที่ซับซ้อน ทับซ้อน และไล่เหลื่อมกัน จากภาวะเรียบง่ายที่สุดไปสู่ภาวะซับซ้อนที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา อ. . (2023). ภูมิปัญญาการประกอบสร้างคำในภาษาชาติพันธุ์ไท : การไล่เหลื่อมของหมวดหมู่ที่ซับซ้อนและทับซ้อน. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(2), 32–63. https://doi.org/10.14456/lartstu.2023.32
บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ. 2536. หลักภาษาไทย เล่ม 3. โรงพิมพ์คุรุสภา.

กาญจนา นาคสกุล. (2502). คำสันนิษฐานในภาษาไทยที่มีมูลรากเป็นคำเขมร [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เจ่า ฮวน. (2555). การศึกษาเปรียบเทียบคำซ้อนสองพยางค์ในภาษาไทยและภาษาจีน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 9(3), 52-67.

ชนิกา พรหมมาศ. (2560). กริยาประสมแบบรวมนามในภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 12(1), 31-53.

ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์. (2528). การซ้อนคำในกฎหมายตราสามดวง. ภาษาและวรรณคดีไทย, 1(2), 25-41.

พรรณิดา ขันธพัทธ์. (2548). การศึกษาคำประสมในภาษาไทใหญ่ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เพียรศิริ วงศ์วิภานนท์ (2528). การประสมคำด้วยวิธีกลืนนามในภาษาไทย. วารสารภาษา, 2(3), 48-58.

เพียรศิริ วงศ์วิภานนท์. (2531). คำซ้อนในภาษาไทย ตอนที่ 1: ลักษณะพิเศษของคำซ้อน. ภาษาและวรรณคดีไทย, 3(5), 15-27.

บรรจบ พันธุเมธา. (2525). ลักษณะภาษาไทย. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2547). คำสองพยางค์และคำซ้อนในภาษาไทย: การสืบหาความหมายจากภาษาจีน. ภาษาเทศในภาษาไทย, 1-15.

พูนพงษ์ งามเกษม. (2549). ความหมายของคำซ้อน. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พูนพงษ์ งามเกษม และ อัญชลี สิงห์น้อย. (2555). คำซ้อนความหมายตรงข้ามในภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์, 9(3), 1-16.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. ราชบัณฑิตยสถาน.

เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. (2541). ภาษาศาสตร์ภาษาไทย. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. (2530). คำประสม: ลักษณะทางความหมาย. ภาษาและภาษาศาสตร์, 5(2), 92-100.

สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. (2544). หลักภาษาไทย. ไทยวัฒนาพานิช.

อนงค์ เอียงอุบล. (2528). การศึกษาเชิงวิเคราะห์คำประสมในภาษาไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนุมานราชธน, พระยา. (2517). นิรุกติศาสตร์. คลังวิทยา.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. (2548). หลักภาษาไทย. ไทยวัฒนาพานิช.

อัญชลี สิงห์น้อย. (2548). คำนามประสม: ศาสตร์และศิลป์ในการสร้างคำไทย. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัญชลี สิงห์น้อย. (2551). คำกริยาประสมในภาษาไทย: หมวดหมู่ที่ปรับเปลี่ยน ทับซ้อน และสับสน. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 27(2), 23-40.

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. (2559). อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และการสืบสานภาษาชาติพันธุ์ ไทดำภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลกดอทคอม.

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. (2560). อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และการสืบสานภาษาชาติพันธุ์ ไทครั่งภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลกดอทคอม.

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. (2561). อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และการสืบสานภาษาชาติพันธุ์ ไทใหญ่ภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลกดอทคอม.

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. (2565). ไวยากรณ์ไทยเชิงสื่อสาร : การวิเคราะห์แนวภาษาศาสตร์หน้าที่นิยมเชิงแบบลักษณ์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา, แก้วตา สาลีโภชน์, และชมนาด อินทจามรรักษ์. (2559). โครงการภูมิปัญญาทางภาษาและการสืบสานภาษากลุ่มชาติพันธุ์ไทภาคเหนือตอนล่าง: กระบวนทัศน์ใหม่ในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่น ปีที่ 1. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา, อรทัย ชินอัครพงศ์, และอัจฉรา อึ้งตระกูล. (2560). โครงการภูมิปัญญา ทางภาษาและการสืบสานภาษากลุ่มชาติพันธุ์ไทภาคเหนือตอนล่าง: กระบวนทัศน์ใหม่ ในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่น ปีที่ 2. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา, อรทัย ชินอัครพงศ์, และ อัจฉรา อึ้งตระกูล. (2561). โครงการภูมิปัญญา ทางภาษาและการสืบสานภาษากลุ่มชาติพันธุ์ไทภาคเหนือตอนล่าง: กระบวนทัศน์ใหม่ ในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่น ปีที่ 3. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

DeLancey, S. (1997). Grammaticalization and the gradience of categories: Relator nouns and postpositions in Tibetan and Burmese. In J. Bybee, J. Himan, & S. A. Thompson (Eds.), Essays on language function and language type (pp. 51-70). John Benjamins Publishing.

Fillmore, C. J. (1985). Syntactic intrusion and the notion of grammatical construction. Berkeley Linguistics Society, 11, 73-86.

Fillmore, C. J. (1988). The mechanisms of Construction Grammar. Berkeley Linguistics Society, 14, 35-55.

Goldberg, A. E. (1995). Construction: A construction grammar approach to argument structure. University of Chicago Press.

Givón, T. (1986). Categories and prototypes: Between Plato and Wittgenstein. In C. Craig (Ed.), Noun classes and categorization (pp. 77-102). John Benjamins Publishing.

Givón, T. (2001). Syntax I,II. John Benjamins Publishing.

Haas, M. R. (1964). Thai-English student’s dictionary. Stanford University Press.

Holme, R. (2004). Mind, metaphor and language teaching. Palgrave Macmillan.

Lakoff, G. (1987). Women, fire, and dangerous things: What categories reveal about the mind. The University of Chicago Press.

Lakoff, G. (1993). “Women, fire, and dangerous things” the importance of categorization. The University of Chicago Press.

Lakoff, G., & Johnson, M. (1980). Metaphor we live by. University of Chicago Press.

Mithum, M. (1984). The evolution of noun incorporation. Language, 60(4), 847-894.

Panupong, V. (1970). Inter-sentence relations in modern conversational Thai. Siam Society.

Recanati, F. (2004). Literal meaning. Cambridge University Press.

Rosch, E. (1977). Human categorization. In N. Warren (Ed.), Studies in crosscultural psychology (pp. 1-49). Academic.

Rosch, E. (1978). Principles of categorization. In E. Rosch & B. Lloyd (Eds.), Cognition and categorization (pp. 27-48). Academic.

Udomphol, N. (1964). Compound Words in Thai [Master’s thesis]. Chulalongkron University.

Warren, B. (1999). Aspects of referential metonymy. In K. U. Panther & G. Radden (Eds), Metonymy in Language and Thought (pp. 121-138). John Benjamins.

Wongwattana, U. S. (2016). Word compounding in Tai Dam: A reflection of people world view and culture. Journal of Mekong Societies, 12(2), 103-136.

Wongwattana, U. S. (2018). Syntactic compound words in Tai Krang. MANUSYA: Journal of Humanities, 21(1), 106-121.

Wongwattana, U. S. (2022). Auto-part terms in Thai: A cognitive semantic analysis. MANUSYA: Journal of Humanities, 25(1), 1-25. Brill.

Zeng, H. (2019). A Cognitive-pragmatic approach to metaphor and metonymy in brand names: A case study of film titles. Taiwan Journal of Linguistics, 17(1), 1-46.