พลวัตของพิพิธภัณฑ์ไทย: ความหมายใหม่ในสถานที่เดิม
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความเป็นพิพิธภัณฑ์ไทยในสังคมปัจจุบันมีลักษณะที่น่าสนใจบางประการที่มีความหมายที่เพิ่มขึ้นจากการให้ความหมายเดิมของพิพิธภัณฑ์ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการใช้ภาษาที่บอกชุดความหมายใหม่ของพิพิธภัณฑ์จากเพจเฟซบุ๊ก (Facebook) ที่ได้รับความนิยม จำนวน 12 เพจ ซึ่งมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับพิพิธภัณฑ์ในแง่มุมต่าง ๆ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าพิพิธภัณฑ์ถูกประกอบสร้างจากการใช้คำศัพท์ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) คำแสดงตัวตนของพิพิธภัณฑ์ 2) คำแสดงหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์ และ 3) คำแสดงความรู้สึกที่มีต่อพิพิธภัณฑ์ คำศัพท์เหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นชุดความคิดสำคัญ 2 ประการ ได้แก่ ชุดความคิดที่ยังคงอยู่ของพิพิธภัณฑ์ไทย และชุดความคิดใหม่ของพิพิธภัณฑ์ไทย อันเนื่องมาจากการปรับตัวให้เท่าทันกระแสในยุคดิจิทัล
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
คนหลงทาง. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/Lost.Somewhere.Together
คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา. (2552). การศึกษาแรงจูงใจของเยาวชนต่อการท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. คลังปัญญาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19046
ชิดหทัย ปุยะติ. (2563). พิพิธภัณฑ์การเดินทัพทางไกลของกองทัพแดงแห่งตี๋ชิ่ง: วาทกรรม การเมือง เรื่องกองทัพแดงกับกลุ่มชาติพันธุ์ทิเบต. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 14(1), 148-163.
ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี. (2550). วาทกรรม "พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น" ในสังคมไทย: ศึกษากรณีพิพิธภัณฑ์ ในภาคอีสาน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. คลังปัญญาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/CU.the.2007.345
ทนงศักดิ์ แก้วมูล. (2549). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การดำเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล และสังเคราะห์องค์ความรู้จากพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่เป็นกรณีศึกษา พิพิธภัณฑ์วัดไหล่หินหลวง ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://repository.museumsiam.org//handle/6622252777/252
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล และคณะ. (2547). โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล และคณะ. (2551). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น: ระยะที่ 2 ปีที่ 2 ศึกษากรณีพิพิธภัณฑ์วัดท่าพูดและพิพิธภัณฑ์วัดไหล่หินหลวง. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.sac.or.th/databases/sac_research/research-itemsearch.php?ob_id=64
ปันโปร – Punpromotion. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/punpromotion
เปรม ถาวรประภาสวัสดิ์. (2561). การท่องเที่ยวไทยในยุคดิจิทัล. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
ไปกันนะ: Pai Gun Na. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/paigunna
ไปคนเดียว+. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/paikondieow
ยุกติ มุกดาวิจิตร. (2561). ‘พิพิธภัณฑ์’ ไม่ใช่ที่เก็บของ ไม่ใช่ของที่เก็บ. สืบค้นเมื่อวันที่ 18สิงหาคม 2564, จาก https://www.the101.world/real-functions-of-museum
ราชบัณฑิตยสภา. (ม.ป.ป.). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับพุทธศักราช 2554. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://dictionary.orst.go.th/
ลาพักเที่ยว. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/lapakteaw
สายชล ปัญญชิต. (2562). พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น: บทบาททางศิลปวัฒนธรรมและการพัฒนาสู่ความยั่งยืน. วารสารศิลปกรรมศาสตร์, 23(2), 113-128.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 - 2564. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2564, จาก https://www.nesdc.go.th/
อาสา พาไปหลง. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/asapapailong
Chantawong, V. (2013). Gender and sexuality discourse of the healthy sexuality The story of Love museum. [Master’s thesis, Chiang Mai University], Chiang Mai University Digital Collections. https://cmudc.library.cmu.ac.th/frontend/Info/item/dc:121072
Fairclough, N. (1995). Media Discourse. Arnold.
Gee, J. P. (2015). Discourse, small d, big D. In The international encyclopedia of language and social interaction. http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/9781118611463.wbielsi016
Go See It ไปให้รู้ ออกไปดูให้เห็น. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/igoseeit
HashCorner. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/hashcorner
I Roam Alone. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/IRoamAlone
Nonstop Journey. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/nonstopjourneyTH
SALE HERE. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/salehere
The Gaijin Trips แบกเป้เที่ยวคนเดียว. (ม.ป.ป.). หน้าหลัก [เพจเฟซบุ๊ก]. เฟชบุ๊ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/Thegaijintrips
van Dijk, T. A. (1998). Ideology: A Multidisciplinary Approach. Sage.