“ไม่ใช่พระปาฏิหาร” ณ พระปฐมเจดีย์: ชัยชนะของวิทยาศาสตร์?

Main Article Content

สิกขา สองคำชุม
ทวีศักดิ์ เผือกสม

บทคัดย่อ

บทความวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรณีการตีความการพิสูจน์ผิดเกี่ยวกับปรากฏการณ์ดวงไฟ ณ พระปฐมเจดีย์ เมื่อ พ.ศ. 2408 ดังปรากฏหลักฐานการพิสูจน์ปาฏิหาริย์ใน เรื่องพระปฐมเจดีย์ โดยอาศัยแนวพินิจทางประวัติศาสตร์ อันสัมพันธ์กับบริบทว่าด้วยการทวีความสำคัญยิ่งขึ้นของความรู้ทางโลกย์อันปรากฏอยู่ใน หนังสือแสดงกิจจานุกิตย์ ผลการศึกษาได้เสนอการตีความสองระดับ กล่าวคือ การตีความระดับแรก จะมองว่าการพิสูจน์ดังกล่าวเป็นชัยชนะของญาณวิทยาวิทยาศาสตร์ ส่วนการตีความระดับที่สองมองว่าชัยชนะดังกล่าวเป็นเพียงชัยชนะแบบจำยอมและไม่ถาวรในด้านของการลงหลักปักฐานของวิทยาศาสตร์ในสังคมไทยในระยะยาว

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
สองคำชุม ส., & เผือกสม ท. (2022). “ไม่ใช่พระปาฏิหาร” ณ พระปฐมเจดีย์: ชัยชนะของวิทยาศาสตร์? . วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(3), 111–126. https://doi.org/10.14456/lartstu.2022.35
บท
บทความวิจัย

References

ขาว เหมือนวงศ์. (2561). รำลึก 150 ปีการเกิดสุริยุปราคาในพระองค์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ใน ณ หว้ากอ อดีต ปัจจุบัน อนาคต (น. 55-88). สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.

ชนิดา พรมหพยัคฆ์, และ ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว (บรรณาธิการ). (2563). วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์. สยามปริทัศน์.

ทวีศักดิ์ เผือกสม. (2561). หยดเลือด จารึก และแท่นพิมพ์: ว่าด้วยความรู้/ความจริงของชนชั้นนำสยาม พ.ศ. 2325-2411. Illuminations Editions.

ทิพากรวงษ์, เจ้าพระยา. (ร.ศ. 128) [พ.ศ. 2452]. เรื่องพระปฐมเจดีย์ เจ้าพระยาทิพากรวงษ์ เรียบเรียง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. โรงพิมพ์ไทย.

ทิพากรวงษ์, เจ้าพระยา. (2410). หนังสือแสดงกิจจานุกิตย์. พิมพ์ซ้ำตามต้นฉบับเดิมใน หนังสือแสดงกิจจานุกิตย์, The Modern Buddhist, List of Common Trees, Shrubs, etc, in Siam. พิมพ์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิงศพ พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา ณ วัดเทพศิรินทราวาส, 22 มิถุนายน 2559. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2556). กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ (พวงทอง ภวัครพันธุ์, ไอดา อรุณวงศ์, และ พงษ์เลิศ พงษ์วนานนต์, ผู้แปล). โครงการจัดพิมพ์คบไฟและสำนักพิมพ์อ่าน.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2562ก). กรอบมโนทัศน์พื้นฐานของสยามยุคสมัยใหม่ (เค้าโครงสังเขป). ใน เมื่อสยามพลิกผัน: ว่าด้วยกรอบมโนทัศน์พื้นฐานของสยามยุคสมัยใหม่ (น. 3-27). ฟ้าเดียวกัน.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2562ข). ปรับตัวปรับใจเพื่ออยู่กับโลกตะวันตก: ยุทธศาสตร์ทางภูมิปัญญาที่แบ่งโลกเป็นสองส่วน และแนวคิดหลังตะวันตกนิยมในสยาม. ใน เมื่อสยามพลิกผัน: ว่าด้วยกรอบมโนทัศน์พื้นฐานของสยามยุคสมัยใหม่ (น. 29-59). ฟ้าเดียวกัน.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2562ค). การแก้ต่างให้พุทธศาสนากับความเป็นมาของศาสนาเปรียบเทียบในสยาม. ใน เมื่อสยามพลิกผัน: ว่าด้วยกรอบมโนทัศน์พื้นฐานของสยามยุคสมัยใหม่ (น. 147-175). ฟ้าเดียวกัน.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2555) [2527]. ปากไก่และใบเรือ: รวมความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์ ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ในพระราชพงศาวดารอยุธยา. ฟ้าเดียวกัน.

พิพัฒน์ พสุธารชาติ. (2560). คราสและควินิน: รื้อ-สร้าง ‘ปากไก่และใบเรือ’ ของนิธิ เอียวศรีวงศ์. Illuminations Editions.

สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. (2561). ณ หว้ากอ อดีต ปัจจุบัน อนาคต. สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.

สมิทธ์ ถนอมศาสนะ. (2558). การเปลี่ยนแปลงทางความคิดของชนชั้นกลางไทยกับ “เรื่องอ่านเล่น” ไทยสมัยใหม่ ทศวรรษ 2460-ทศวรรษ 2480 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิกขา สองคำชุม (บรรณาธิการ). (2562). พระจอมเกล้าฯ พยากรณ์: ความย้อนแย้งของ “ดาราศาสตร์” กับ “โหราศาสตร์” ในสังคมไทยสมัยใหม่. Illuminations Editions.

โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์. (2545). วิทยาศาสตร์ในสังคมและวัฒนธรรมไทย. พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2555). การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 4 ถึงพุทธศักราช 2475 (พิมพ์ครั้งที่ 3). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chemistry No 1. (1844). หนังสือจดหมายเหตุฯ Bangkok Recorder. 1(6), 21.

Aubin, D. (2010). Eclipse Politics in France and Thailand, 1868. In D. Aubin, C. Bigg, & H. O. Sibum (Eds.). The Heavens on Earth: Observatories and Astronomy in Nineteenth-Century Science and Culture (pp. 86-117). Duke University Press.

Chatterjee, P. (1993). The Nation and Its Fragments: Colonial and Postcolonial Histories. Princeton University Press.

Foucault, M. (2006). History of Madness (J. Murphy & J. Khalfa, Trans.). Routledge.

Johnson, P. C. (1997). “Rationality” in the Biography of a Buddhist King: Mongkut, King of Siam (r.1851-1868). In Scared Biography in the Buddhist Traditions of South and Southeast Asia (pp. 232-256). University of Hawaii Press.

Kolbe, H. (1884). A Short Text-Book of Inorganic Chemistry. John Wiley & Sons.

Suwannakij, S. (2013). King and Eye: Visual Formation and Technology of the Siamese Monarchy [Doctoral dissertation]. University of Copenhagen.

Sveistrup, C. S. (1892). Catalouge of the Books of the Royal Vajirajan Library by Order of H.R.H. Krom Hmun Dammrong Rachanuphap. R. Götte.

Winichakul, T. (1994). Siam Mapped: A History of the Geo-Body of a Nation. University of Hawaii Press.