กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์เด็กไทยในหนังสือวันเด็กแห่งชาติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาอัตลักษณ์เด็กไทยที่นำเสนอตัวเองผ่านหนังสือวันเด็กแห่งชาติ เก็บข้อมูลจากหนังสือวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ. 2555 - 2564 จำนวน 10 เล่ม ผลการวิเคราะห์พบกลวิธีทางภาษาที่เด็กไทยใช้นำเสนออัตลักษณ์ตัวเอง จำนวน 9 กลวิธี ได้แก่ การใช้ชื่อและการเรียกชื่อ อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ การใช้คำกริยา การกล่าวอ้าง การใช้มูลบท การใช้คำถามเชิงวาทศิลป์ การกล่าวเกินจริง การใช้คำขยายลักษณะ และการใช้สำนวน กลวิธีทางภาษาได้นำเสนออัตลักษณ์เด็กไทย จำนวน 12 อัตลักษณ์ ได้แก่ เด็กไทยปฏิบัติตนเป็นคนดีที่ได้รับการยกย่องสรรเสริญ เด็กไทยมีหน้าที่ศึกษาหาความรู้ เด็กไทยมีจิตอาสาและเสียสละตนเอง เด็กไทยมีความเก่ง อดทนและขยันขันแข็ง เด็กไทยมีมิตรไมตรีที่ดีต่อผู้อื่น เด็กไทยมีความสามัคคีร่วมกัน เด็กไทยมีความรักและกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ เด็กไทยใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ประหยัด และอดออม เด็กไทยมีความซื่อสัตย์สุจริต เด็กไทยรักษาประเพณีวัฒนธรรมและปฏิบัติตามกฎของสังคม เด็กไทยมีกิริยามารยาทเรียบร้อย และเด็กไทยมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อัตลักษณ์ที่นำเสนอในบทความนี้ได้สะท้อนให้เห็นว่าเด็กไทยจะเป็นไปตามความคาดหวังของสังคมที่มีความสอดคล้องกับอัตลักษณ์ตัวเองของเด็กไทย โดยการนำเสนอเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน และนำไปสู่การปฏิบัติตามที่กำหนดไว้
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กมลวรรณ เชยวัดเกาะ. (2558). ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2558 เมล็ดพันธุ์ของชาติ (น. 100). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กฤษณา พรมเลิศ. (2543). วิเคราะห์เรื่องสั้นในหนังสือวันเด็กแห่งชาติ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]. ฐานข้อมูลงานวิจัย. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=55&RecId=1420&obj_id=11787&showmenu=no
กวินทิพย์ ฤกษ์ประทานชัย. (2560). เดินหน้าประเทศไทยไปกับผู้สูงอายุ. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2560 ต้นกล้าของพ่อ. (น. 99-102). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กองบรรณาธิการ. (2561). ฮีโร่จิตอาสา...คุณก็ทำ (ดี) ได้. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2561 ฮีโร่ตัวจิ๋ว (น. 27-36). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
คชาธิป พาณิชตระกูล. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ว่าด้วยชายรักชายในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย ปี พ.ศ. 2555: การศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. คลังปัญญาจุฬาฯ. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42944
จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2561). การวิเคราะห์ข้อความ (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
จิราภรณ์ ไชยวงศ์. (2560). ต้นกล้าแห่งความดี. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2560 ต้นกล้าของพ่อ (น. 72-74). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
จุฑาวัฒน์ จินดาหลวง. (2557). สามัคคีปรองดองเถิดผองไทย. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2557 รวมใจเป็นหนึ่ง (น. 105). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ฉันท์ชนิต เจริญรุ่งรัตน์. (2557). อัตลักษณ์ของเด็กไทยที่ปรากฏในภาพยนตร์ไทยที่มีตัวละครหลักเป็นเด็ก [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง]. ฐานข้อมูลงานวิจัย. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=53&RecId=12996&obj_id=81284&showmenu=no
ชนกพร พัวพัฒนกุล. (2548). อุดมทรรศน์เกี่ยวกับ “เขมร” ในปริเฉทหนังสือพิมพ์ไทย: กรณีเหตุจลาจลเผาสถานทูตไทยในกัมพูชา พ.ศ. 2546 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. คลังปัญญาจุฬาฯ. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67829
ณัฐนนท์ คำภา. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์ของคนพิการในสังคมไทย พ.ศ. 2534-2554 จากมุมมองของคนทั่วไปและคนพิการตามแนวทางวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. ศูนย์ข้อมูลการวิจัย. https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/287970
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2549). โฆษณาตัวเองอย่างไรให้น่าเชื่อถือ?: กลวิธีทางภาษาในการโฆษณาตัวเองของนักการเมืองไทยจากมุมมองวัจนปฏิบัติศาสตร์. ใน กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และ จันทิมา เอียมานนท์ (บรรณาธิการ). มองสังคมผ่านวาทกรรม (น. 269-291). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2558). ภาษากับอัตลักษณ์เมียฝรั่งในวาทกรรมสาธารณะ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. ฐานข้อมูลงานวิจัย. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=91&RecId=68682&obj_id=372272&showmenu=no
ธรีรัตน์ เหล่าบุตดา. (2563). ด้วยพลังจิตอาสา. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2563 เด็กไทย ไปถึงฝัน (น. 105-109). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ธวัลรัตน์ สีดอกบวบ และคณะ. (2563). มะลิของแม่. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2563 เด็กไทยไปถึงฝัน (น. 70-73). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ธีระ บุษบกแก้ว. (2553). กลวิธีภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตนเองโดยกลุ่ม “เกย์ออนไลน์” [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. ฐานข้อมูลงานวิจัย. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=90&RecId=17693&obj_id=38576&showmenu=no
บุณย์เสนอ ตรีวิเศษ. (2559). พลังภาษาในวาทกรรมของเสกสรร ประเสริฐกุล [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. ฐานข้อมูลงานวิจัย. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=91&RecId=67676&obj_id=371807&showmenu=no
ปรีชญา คงนิวัฒน์ศิริ. (2558). วิถีไทย ให้คุณค่า. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2558 เมล็ดพันธุ์ของชาติ (น. 106). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
เป็ด นิธิโชติ. (2561). ฮีโร่จิตอาสา...คุณก็ทำ (ดี) ได้. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2561 ฮีโร่ตัวจิ๋ว (น. 27-36). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
พัชรพร รุ่งเรือง. (2560). จดหมายถึงพ่อ. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2560 ต้นกล้าของพ่อ (น. 55-58). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ภัทวรินทร์ สุธรรมพร. (2563). ทำดีให้ใครเห็น. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2563 เด็กไทยไปถึงฝัน (น. 59-62). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
มุทิตา นันทะพันธ์. (2556). อ่างทอง “เมืองอู่ข้าว อู่น้ำ”. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2556 ต้นกล้าของความซื่อสัตย์ (น. 42). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
เมตตา วิวัฒนานุกูล. (2548). การสื่อสารต่างวัฒนธรรม. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รสสุคนธ์ โชติดำรงค์. (2546). การศึกษากลวิธีการใช้ภาษาและการปลูกฝังแนวคิดด้านคุณธรรมในหนังสือสำหรับเด็กประเภทบันเทิงคดี ฉบับชนะการประกวดในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 – 2545 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันราชภัฏธนบุรี]. ฐานข้อมูลงานวิจัย. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=26&RecId=16&obj_id=49&showmenu=no
รัชณีกร เวชภิบาล. (2556). แม่. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2556 ต้นกล้าของความซื่อสัตย์ (น. 76). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
รัตนา คชนาท. (2560). โต้งดำกลับใจ. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2560 ต้นกล้าของพ่อ (น. 62-71). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ลำพู แสงลภ. (2562). เด็กดีที่น่ารัก. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2562 นอกหน้าต่างบานเล็ก (น. 42-45). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
วัลลภา วิทยารักษ์. (2548). คุณลักษณะของเด็กไทยที่พึงประสงค์: วิเคราะห์จากหนังสือวันเด็กแห่งชาติ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิสันต์ สุขวิสิทธิ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในหนังสือเรียนรายวิชาภาษาไทย ตามหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2503-2544: การศึกษาตามแนวทางวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. คลังปัญญาจุฬาฯ. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22213
ศรัณยา มหาสุขบุญวงศ์. (2557). พอดี มีสุข. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2557 รวมใจเป็นหนึ่ง (น. 114). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ศิริพร ภักดีผาสุข. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (2563). เรียนออนไลน์. https://nidapoll.nida.ac.th/survey_detail?survey_id=45
สมเกียรติ รักษ์มณี. (2549). เอกสารคำสอนวิชา 361332 ภาษาวรรณศิลป์. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุคนธรัตน์ สร้อยทองดี. (2552). การนำเสนออุดมการณ์ความเป็นแม่ในวาทกรรมโฆษณาในนิตยสารสำหรับครอบครัว [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. คลังปัญญาจุฬาฯ. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18058
สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. (2552). วัจนปฏิบัติศาสตร์เบื้องต้น. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุชาดา พลพิชัย. (2564). วันที่ฝนตก. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2564 สู้ไปด้วยกัน (น. 79-82). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2555 น้ำใจเด็กไทยใสสะอาด. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2556 ต้นกล้าของความซื่อสัตย์. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2557 รวมใจเป็นหนึ่ง. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2558 เมล็ดพันธุ์ของชาติ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2559 ร้อยรัก เป็นหนึ่งเดียว. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2560 ต้นกล้าของพ่อ. สำนักงานคณะกรรมการศึกษาการขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2561 ฮีโร่ตัวจิ๋ว. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2562 นอกหน้าต่างบานเล็ก. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2563 เด็กไทย ไปถึงฝัน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2564 สู้ไปด้วยกัน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ์ การทบทวนทฤษฎี และกรอบแนวคิด. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
อาบีดะ หนูหมาน. (2562). เต้ย...ผู้กลับตัว. ใน หนังสือวันเด็กแห่งชาติ ปี 2562 นอกหน้าต่างบานเล็ก (น. 30-32). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
อุมาวัลย์ ชีช้าง. (2555ก). ความเป็นชาย-ความเป็นหญิงในหนังสือวันเด็กแห่งชาติ: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 29, 113-141.
อุมาวัลย์ ชีช้าง. (2555ข). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในเรื่องเล่าสำหรับเด็กในหนังสือวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ. 2523-2553 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. คลังปัญญาจุฬาฯ. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45294
Fairclough, N. (1995a). Critical Discourse Analysis: The Critical Study of Language. Longman.
Fairclough, N. (1995b). Media Discourse. Arnold.
Fowler, R. (1991). Language in the new: discourse and ideology in the British press. Routledge.
Lakoff, G., & Johnson, M. (1980). Metaphor we live by. University of Chicago Press.
Lakoff, G., & Johnson, M. (2003). Metaphor we live by (2nd ed.). University of Chicago Press.