ความทรงจำสงครามโลกครั้งที่ 2 ในนวนิยาย กระทิงป่าขุนยวม
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำเสนอความทรงจำสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในขุนยวมและทหารญี่ปุ่นที่ปรากฏในนวนิยาย เรื่อง กระทิงป่าขุนยวม จากการศึกษาพบว่าในขณะที่สื่อวัฒนธรรมอื่น ๆ ของไทยนำเสนอทหารญี่ปุ่นในแง่ศัตรูของชาติหรือในแง่ของผู้มีมนุษยธรรม กระทิงป่าขุนยวม กลับนำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างทหารญี่ปุ่นและคนท้องถิ่นในลักษณะที่สามารถต่อรองและเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน อีกทั้ง “ถนนญี่ปุ่น” ผลพวงจากสงครามฯ ยังได้สะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ของคนท้องถิ่นกับคนนอกที่เดินทางเข้ามายังพื้นที่ ความสัมพันธ์นี้กลับเป็นความสัมพันธ์ที่คนท้องถิ่นถูกกดขี่และเอาเปรียบจนกลายเป็นบาดแผลที่ยิ่งกว่าสงครามฯ ที่เกิดขึ้น
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรรณิการ์ พรมเสาร์ และ เบญจา ศิลารักษ์. (2542). ป่าเจ็ดชั้น ปัญญาปราชญ์ จากคำบอกเล่าของพ่อหลวงจอนิ โอโดเชา. มูลนิธิภูมิปัญญา.
ชมัยภร แสงกระจ่าง. (2544). จอนิ โอ่โดเชา ครูภูมิปัญญาไทย ปราชญ์นักสู้แห่งภูเขา. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. http://www.bks.ac.th/lms/ebook/pdf/joni/pdf.pdf
ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ. (2556). พิพิธภัณฑ์สงคราม บาดแผล และการเยียวยา: สองเรื่องเล่าที่แตกต่างว่าด้วยทหารญี่ปุ่นในประเทศไทย สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 32(1), 56-86.
เชิดชาย ชมธวัช. (2555). ย้อนรอยความทรงจำที่ขุนยวม. นันทกานต์กราฟฟิค-การพิมพ์.
ณัฐวัฒน์ อุทธังกร. (2552). ตะลุยป่าล้านนา. บ้านหนังสือ.
ณัฐวัฒน์ อุทธังกร. (2553). กระทิงป่าขุนยวม. บ้านหนังสือ.
ประคอง เจริญจิตรกรรม. (2534). วรรณกรรมไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2. วารสารธรรมศาสตร์, 17(2), 6-13.
ไทยรัฐ. (2541, 3 มกราคม). แม่ฮ่องสอนทุ่มคนกว่าครึ่งร้อย สำรวจเส้นทางเดินทัพทหารญี่ปุ่น. ไทยรัฐ, น. 10.
ธัญญา สังขพันธานนท์. (2556). วรรณคดีสีเขียว: กระบวนทัศน์และวาทกรรมธรรมชาติในวรรณคดีไทย (Ecocriticism in Thai Literature). นาคร.
ธัญญา สังขพันธานนท์. (2560). ใช่เพียงเดรัจฉาน: สัตวศึกษาในมุมมองของการวิจารณ์ แนวนิเวศ. ใน รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ (บรรณาธิการ), ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะทัศนะของนักวิชาการไทย (น. 328-407). นาคร.
นัทธนัย ประสานนาม. (2559a). ศัตรูที่รัก: คุณค่าสงครามกับสงครามคุณค่าในคู่กรรมของทมยันตี. ใน ถกเถียงเรื่องคุณค่า (น. 65-114). เคล็ดไทย.
นัทธนัย ประสานนาม. (2559b). สงครามโลกครั้งที่สองในชีวประวัติทางโทรทัศน์เรื่อง บุญผ่อง: ความทรงจำโต้กลับและความทรงจำข้ามชาติ. ศิลปวัฒนธรรม, 38(7), 130-149.
นัทธนัย ประสานนาม. (2560). ความทรงจำเทียม: เรื่องเล่าของ "มอม" ในวัฒนธรรมความทรงจำและวัฒนธรรมสกรีน. ใน นัทธนัย ประสานนาม (บรรณาธิการ). เล่าเรื่องเรื่องเล่า. (น. 239-268). คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นัทธนัย ประสานนาม. (2562). ประพันธศาสตร์ของความหลัง: ความทรงจำวัฒนธรรมกับวรรณกรรมศึกษา. ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
นิติ ภวัครพันธุ์. (2558). ชวนถก ชาติและชาติพันธุ์. ศยาม.
นุชภางค์ ชุมดี. (2552). การสร้างความเป็นถิ่นฐาน พ.ศ. 2317-2484. ใน รัศมี ชูทรงเดช และคณะ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในอำเภอปาย-ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เล่มที่ 4 ด้านประวัติศาสตร์). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
รัศมี ชูทรงเดช. (2556). ใครเป็น “เจ้าของ” มรดกวัฒนธรรมสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ขุนยวม แม่ฮ่องสอน?. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 32(1), 9-55.
รัศมี ชูทรงเดช, นุชนภางค์ ชุมดี, ร่มเย็น โกไศยกานนท์, และ มุกดา โล้พิรุณ (2552). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในอำเภอปาย-ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ศุภร ชูทรงเดช. (2556). เงา: ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเล็กๆ ที่ถูกลืม. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 32(1), 174-192.
ศุภร ชูทรงเดช (ผู้กำกับ). (2557). สารคดีงานวิจัย เรื่อง เงา อดีตจากป่า คนแปลกหน้าที่ขุนยวม [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=pGEdGpmItzI
อนุสรณ์สถานมิตรภาพไทย-ญี่ปุ่น ขุนยวม. (2548-2551). สมุดเยี่ยมชมอนุสรณ์สถานมิตรภาพไทย-ญี่ปุ่น ขุนยวม เล่มที่ 3. (เอกสารยังไม่ได้ตีพิมพ์)
อิงอร สุพันธุ์วณิช. (2559). สังคมไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในวรรณกรรมประวัติศาสตร์ ร.ศ. 160 ไขรหัสลับเสรีไทยที่ศาลายา. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
Areesilp, H. (2016). Life during wartime and memories of World War II in the Thai novel, Chungking Sexpress. Asian Review, 29(1), 29-54.
Nora, P. (1989). Between Memory and History: Les Lieux de Mémoire. Representations, 26, 7-24. https://doi.org/10.2307/2928520
Prasannam, N. (2017). Mnemonic Communities: Politics of World War 2 Memory in Thai Screen Culture. University of St. Andrews. Department of Film Studies.
Strate, S. (2015). The Lost Territories: Thailand’s History of National Humiliation. University of Hawaii Press.