คุณานุประโยคในทำเนียบภาษาของภาษากฎหมาย ภาษาสื่อ ภาษาการเมือง และภาษาวิชาการ

Main Article Content

สุธาสินี ปิยพสุนทรา

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้พบว่าลักษณะของคุณานุประโยคในทำเนียบภาษาต่างๆ นั้นมีทั้งลักษณะที่คล้ายคลึงกันและลักษณะที่แตกต่างกัน  ในส่วนความคล้ายคลึงกันนั้น คุณานุประโยคเกือบทั้งหมดปรากฏร่วมกับตัวบ่งชี้ “ที่” และไม่มีการใช้บุรุษสรรพนามแทนนามที่ละไปในคุณานุประโยค ส่วนที่แตกต่างกันนั้น สามารถจำแนกได้เป็นสองกลุ่ม โดยที่ภาษาสื่อ ภาษาวิชาการ และภาษาการเมืองมีลักษณะใกล้เคียงกันมากกว่าภาษากฎหมาย  กล่าวคือทำเนียบภาษาสื่อ ภาษาวิชาการ และภาษาการเมืองมีจำนวนคุณานุประโยคแบบเฉพาะเจาะจงมากกว่า  ต่างกับภาษาการเมืองคือ พบคุณานุประโยคแบบไม่เฉพาะเจาะจงค่อนข้างมาก ส่วนการกของคำนามที่หายไปในสื่อวิชาการมีหลากหลายชนิดที่สุด รองลงมาเป็นภาษาวิชาการ และการเมืองตามลำดับ แต่สำหรับภาษากฎหมายนั้น การกของคำนามที่หายไปมีเพียงการกประธาน อาจกล่าวได้ว่าการศึกษาครั้งนี้ทำให้เห็นความแตกต่างระหว่างทำเนียบภาษาสองกลุ่มคือ ทำเนียบภาษาที่มีการปรากฏคุณานุประโยคหลากชนิดกับทำเนียบภาษาที่มีการปรากฏคุณานุประโยคแบบจำกัด

This article is part of the research project on “Globalization and Japanese University Reform”. This article will discuss the following areas:

1.The cooperation between universities and the private sector in the 1990s

2.The cooperation between universities and the private sector in the 21st century

3.A case study of the cooperation between universities and the corporate sector

This study has shown that the Japanese government urged the reform in the areas of science and technology to increase the research competency of universities, private sector, and the government itself. The reform is based on the principle that the research conducted should be beneficial to the society and the country’s economy, leading to a cooperation between universities and private sector. Because of this, academics from universities have the flexibility to work in and cooperate with the corporate sector. Academics from universities were no longer positioned as government officials, while universities were reformed into a corporation in 2004. Thus, the cooperation between Japanese universities and the private sector has become the third mission objective for the universities. Several leading Japanese universities have adopted this alliance, including Tokyo University. Tokyo University stated that if its collaboration with the corporate sector failed, the collaboration between other universities in Japan and the private sector will cease to exist. It is important to note that even during the economic crisis, the government still allocate substantial budget for science and technology research, in order to develop advance technology to sustain the country’s economy.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย