Thai EFL Learner Writing Errors: A Pre-research Study of Thai Hight-intermediate Undergraduate Writing Errors, Attitudes to Writing and a 'Genre' Based Solution
Main Article Content
บทคัดย่อ
A survey of 31 Thai high-intermediate undergraduate writing learners reveals that Thai learners not only have difficulty with grammar when writing in English, but also have difficulty with organizing and structuring their ideas, and with vocabulary and comprehension. This paper presents the results of a questionnaire which examines the learners’ sources of information, details their specific problems and briefly investigates their attitudes to writing. The paper also reviews the current state of writing pedagogy in relation to Thailand and suggests that a ‘genre approach’ to teaching writing could be more effective at intermediate levels than the ‘current-traditional’ rhetoric and ‘process’ writing approaches currently being used today. The paper gives examples of how such an approach could be applied and suggests avenues for further research.
จากการศึกษาการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยที่มีระดับการเขียนระดับกลางและกำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีจำนวน 31 คน แสดงให้เห็นว่านักศึกษาไทยประสบกับปัญหาการใช้ไวยากรณ์ การเรียบเรียงและการจัดกรอบแนวคิด ตลอดจนการเลือกใช้คำศัพท์และความเข้าใจความหมาย รายงานผลการวิจัยฉบับนี้มุ่งนำเสนอผลการศึกษาจากแบบสอบถามซึ่งนำมาใช้ในการศึกษาวิเคราะห์แหล่งข้อมูลที่นักศึกษานำมาใช้ในการเขียน และมุ่งนำเสนอปัญหาเฉพาะของนักศึกษาในการเขียนภาษาอังกฤษและวิเคราะห์ทัศนคติของนักศึกษาดังกล่าวที่มีต่อการเขียน นอกจากนั้นยังได้วิเคราะห์วิธีการสอนเขียนที่มีใช้อยู่ในประเทศไทยและเสนอว่าวิธีการสอนเขียนแบบ (Genre approach) จะเป็นวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมสำหรับการสอนเขียนสำหรับนักศึกษาโดยที่มีความสามารถในการเขียนอยู่ในระดับกลางมากกว่าวิธีการสอนเขียนอื่นที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น วิธีการสอนตามแนววาทศาสตร์ (Rhetoric) หรือวิธีการสอนโดยเน้นกระบวนการ (Process approach) รายงานฉบับนี้ได้นำเสนอตัวอย่างการนำเสนอวิธีการสอนเขียนแบบ Genre approach ไปใช้ในการสอนเขียนและนำเสนอช่องทางในการทำวิจัยต่อไปสำหรับประเด็นดังกล่าว