An Analysis of Narrative as Part of the English Language and Literature Learning Process: classroom practice with Ian McEwan's Enduring Love
Main Article Content
บทคัดย่อ
In the classroom where most Thai students’ aim to improve language competence to meet the demands of their future life, literary texts which require more language and structural analysis serve the purpose. In teaching an introductory course to fiction, literary theories even contrastive ones such as liberal humanism, structuralism, reader response and postmodernism can be integrated as resources to be used in the classroom to encourage students to give text-based interpretations and to guide them so as to avoid misreading. Also, they can, at the same time, realize their role as individual readers of an enriching plural text instead of forfeiting it and being complacent as passive participants in a lecture. The novel Enduring Love by Ian McEwan has been chosen as the case study of this paper since it has proved to be most usefully problematic in the course Introduction to Fiction at Chulalongkorn University, Bangkok.
ในชั้นเรียนที่ผู้เรียนมุ่งพัฒนาสมรรถนะทางภาษาอังกฤษเพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพในอนาคตนั้น การเลือกวรรณกรรมที่เหมาะสมเพื่อประกอบการสอนช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว การวิเคราะห์การใช้ภาษาและโครงสร้างที่สลับซับซ้อนของวรรณกรรม โดยอาศัยการบูรณาการทฤษฎีวรรณกรรมวิจารณ์ เช่น เสรีนิยม-มนุษยนิยม โครงสร้างนิยม ทฤษฎีที่ให้ความสำคัญแก่ผู้อ่านหรือทฤษฎีกระแสหลังสมัยใหม่ในวิชาการศึกษาวรรณกรรมร้อยแก้วอังกฤษขั้นพื้นฐานเปิดโอกาสให้ผู้เรียนในฐานะปัจเจกได้มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับบท ได้อ่านและพัฒนาทักษะการตีความจากตัวบทด้วยตนเอง ผู้เขียนได้เลือกนวนิยายเรื่องเอ็นเดียริง เลิฟ (Enduring Love) โดยเอียด แม็คอีวาน (lan McEwan) ที่ได้ใช้ประกอบการสอนวิชาการศึกษาวรรณกรรมร้อยแก้วอังกฤษเบื้องต้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นกรณีศึกษา