อุปลักษณ์ตามแนวคิดของทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน

Main Article Content

ชัชวดี ศรลัมพ์

บทคัดย่อ

ในปัจจุบัน การศึกษารูปภาษาที่ใช้ในเชิงเปรียบเทียบหรือ “อุปลักษณ์” เป็นการอธิบายถึงความหมายของรูปภาษาที่สัมพันธ์กับกระบวนการคิดและการให้เหตุผล เป็นความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับระบบมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาในสังคม อุปลักษณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในวรรณกรรม หรือเป็นเพียงเรื่องของการใช้ภาษาด้วยการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งให้เป็นอีกสิ่งหนึ่งเพื่อทำให้เกิดภาพพจน์เท่านั้น แต่อุปลักษณ์เป็นคุณสมบัติของมโนทัศน์และเป็นรูปภาษาที่ใช้กันในชีวิตประจำวัน

At the present time, the study of “metaphor” or language used in comparisons, has become a way of investigating language, thoughts and human reasoning, and particularly the relationship between language and the conceptual systems of language users. Metaphor is no longer regarded simply as a figure of speech used in literature in which one thing is compared to another (by saying that one is the other), but rather is treated as an essential concept for everyday use.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ศรลัมพ์ ช. (2013). อุปลักษณ์ตามแนวคิดของทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 5(1), 1–16. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/13969
บท
บทความ