Phonetic Features of Standard Thai Spoken by Southern Thai Speakers

Main Article Content

Varisa Kamalanavin

บทคัดย่อ

It is well known among Thais that southern Thai speakers have a very strong accent, which is known as samniang thongdaeng or “copper accent”. It is easy for a Thai person to identity a Southern speaker who is speaking the Standard Thai. From my personal conversations with several non-linguist Thai speakers, each syllable in utterances produced by copper-accent spealkers seems to be “equal” in length and clearly articulated. This observation may pinpoint the rhuthmic pattern of copper-accent speakers. The objective of this study is therefore to investigate whether an acoustic analysis of tone and rhythm would conform with most Thai speakers’ perception of the copper accent. The analysis also includes a description of consonants and vowels based on my listening judgment. The speech of three Phuket speakers was chosen for the analysis.

The initial finding, however, shows that the rhythmic patterns of the native Bangkok Thai accent and those of the copper accent are very similar in that both of them tend to be stress-timed dialects. A combination of other phonetic elements, such as vowels, might therefore be the main characteristic of the copper accent.

สำเนียงภาษาไทยมาตรฐาน (ไทยกรุงเทพฯ) ของคนใต้มีลักษณะเฉพาะซึ่งเรียกกันว่าสำเนียงทองแดง สำเนียงนี้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว จนทำให้คนไทยทั่วไปสามารถทราบได้ทันทีว่าคนที่พูดภาษาไทยถิ่นกลางนั้นเป็นคนใต้หรือไม่ จากการที่ผู้วิจัยสนทนากับคนไทยที่มิใช่นักภาษาศาสตร์ พบว่าหลายคนเห็นตรงกันว่าสำเนียงทองแดงนั้นฟังดูคล้ายกับมีการออกเสียงคำโดดเท่า ๆ กัน ความเห็นเช่นนี้อาจชี้ให้เห็นว่าตามหลักสัทศาสตร์สำเนียงทองแดงน่าจะมีประเภทของจังหวะแบบใช้พยางค์เป็นเครื่องกำหนด (syllable-timed rhythm) ผู้วิจัยจึงต้องการวิเคราะห์ว่าแท้จริงแล้วสำเนียงทองแดงมีจังหวะประเภทดังกล่าวหรือไม่ นอกจากการวิเคราะห์เรื่องจังหวะแล้ว ผู้วิจัยยังได้ศึกษาลักษณะของเสียงพยัญชนะ สระ และเสียงวรรณยุกต์ของสำเนียงทองแดงด้วย ผลการศึกษาพบว่าเสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์ในสำเนียงทองแดงไม่ต่างจากภาษาไทยถิ่นกลาง ส่วนเสียงสระมีการแปรไปจากภาษาไทยมาตรฐานบ้างเล็กน้อย นอกจากนี้ สำเนียงทองแดงมีจังหวะแบบใช้การลงเสียงหนักเป็นเครื่องกำหนด (stress-timed rhythm) ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดังนั้น สัทลักษณะอื่น ๆ ที่มิใช่พยัญชนะ วรรณยุกต์ และจังหวะ เช่น เสียงสระ อาจเป็นลักษณ์โดดเด่นของสำเนียงทองแดง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความ