อ่านเฟดรัดของเพลโต

Main Article Content

อู่ทอง โฆวินทะ

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้เป็นการอ่านเชิงวิจัยและวิเคราะห์บทสนทนาเฟดรัสของเพลโตอย่างละเอียด ซึ่งเพลโตได้ประพันธ์ขึ้นในช่วงสุกงอมทางความคิดของเขา

เฟดรัสเป็นบทสนทนาที่มีประวัติศาสตร์ของการอ่านที่ “ขัดแย้ง” มาเป็นเวลาช้านาน เนื่องจากเฟดรัสมีลักษณะผิดแผกแตกต่างจากบทสนทนาชิ้นอื่นของเพลโต เริ่มจากฉากที่เป็นธรรมชาตินอกเมืองเอเธนส์ ตลอดจนเนื้อเรื่องที่ถูกถักทออย่างซับซ้อน “ซ่อนเงื่อน” รวมทั้งการอ้างถึงตำนานที่แปลกไม่คุ้นหูหลายเรื่องที่ให้ข้อคิด ไพเราะ ดึงดูดชวนอ่าน อาจกล่าวได้ว่าเฟดรัสเป็นบทสนทนา “คู่มือ” ให้กับการอ่านบทสนทนาชิ้นอื่นของเพลโต ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความแยบคายและแหลมคมใน “การทำงาน” ของหนึ่งในยอดนักปราชญ์ที่เป็นกวีผู้นี้

This article is a result of a close textual reading and of research on Plato’s Phaedrus, a dialogue he composed when he was at the height of his maturity.

The Phaedrus is one of Plato’s most controversial dialogues. Due to its exotic setting outside of the city in a forested locale, the complexity of its plot, as well as the unfamiliar sounding myths it recites, it is not only thought provoking but also beautifully written. In its own uniqueness, the Phaedrus can be seen as a reader’s companion to Plato’s other dialogues that reveals the “working mind” of one of the most remarkable philosopher-poets of all time.

The purpose of this essay is to provide an introductory guide to this complex and beautiful dialogue, enabling the reader to grasp for him/herself the wealth of interpretive possibilities it contains.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความ