ภูมิศาสตร์วรรณยุกต์ภาษาไทยวนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Main Article Content

สิริวรรณพิชา ธนจิราวัฒน์
สมทรง บุรุษพัฒน์

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องภูมิศาสตร์วรรณยุกต์ภาษาไทยวนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์และเปรียบเทียบระบบเสียงวรรณยุกต์ของภาษาไทยวนที่พูดในประเทศไทย ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ และจัดทำแผนที่ภูมิศาสตร์วรรณยุกต์ของภาษาไทยวนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยงานวิจัยนี้เก็บข้อมูล จำนวน 22 จุด จาก 14 จังหวัดในประเทศไทย 3 แขวงในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ 1 เมืองในประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ รวมผู้บอกภาษา 83 คน โดยใช้รายการคำศัพท์ 80 คำจากตารางทดสอบเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทปัจจุบันของ Gedney (1972) วิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์คลื่นเสียง (Praat) และเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ด้วยรูปแบบการแยกเสียงรวมเสียงและสัทลักษณะของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยวน ผลการศึกษาพบว่า ภาษาไทยวนในประเทศไทย ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ มีรูปแบบการแยกเสียงรวมเสียง 5 กลุ่ม คือ 1) ระบบวรรณยุกต์ที่พบส่วนใหญ่เป็นแบบ A12-34 และ BCD123-4 2) แบบ A12-34 และ BCD123-4 (B4=DL4=DS4) พบเฉพาะแขวงบ่อแก้ว ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 3) แบบ A12-34 และ BCD123-4 (A34 = B123 = DL123) พบที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ (เชียงใหม่ตอนใต้) และอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 4) แบบ A12-34 BDL1234 และ CDS123-4 พบที่อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ประเทศไทยและแขวงไชยะบุรี ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ 5) แบบ A12-34 และ BCD123-4 (A34=B123=DL123, B4=C4=DL4) พบที่จังหวัดราชบุรี ผลการศึกษาเหล่านี้ได้แสดงและจัดทำเป็นแผนที่ภูมิศาสตร์วรรณยุกต์ของภาษาไทยวนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ธนจิราวัฒน์ ส., & บุรุษพัฒน์ ส. (2019). ภูมิศาสตร์วรรณยุกต์ภาษาไทยวนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 19(1), 79–106. https://doi.org/10.14456/lartstu.2019.4
บท
บทความวิจัย

References

กรรณิการ์ วิมลเกษม. (2549). ภาษาไทยถิ่นเหนือ NORTHERN THAI DIALECT. คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จรูญ บุญพันธ์ และคณะ. (2524). พจนานุกรมภาษาไทยกรุงเทพ-ไทยเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิตร ภูมิศักดิ์. (2556). ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ชนนิยม.

ทองดี กองคำ.(2554). ประวัติไทลื้อ. [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2560] https://sites.google.com/site/tongdeekongkham/baw-lux-nxy

เบ็ญจวรรณ สุนทรากูล. (2505). หน่วยเสียงของภาษาเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ประไพพรรณ กิ้วเกษม. (2554). ระบบเสียงภาษาไทยถิ่นเหนือ ตำบลแม่ทราย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “แม่โจ้-แพร่ วิจัย ครั้งที่ 2” วันที่ 1-2 กันยายน 2554. หน้า 556-566.

ปิยะวัติ วังซ้าย. (2550). การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษายองกับระบบเสียงภาษาไทยเหนือ (กำเมือง) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล. (2555). โครงการ การแปรและการเปลี่ยนแปลงทางศัพท์และเสียงในภาษาไทยถิ่นที่พูดในจังหวัดน่าน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิศศรี แจ้งไพร. (2520). หน่วยเสียงภาษาแพร่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พระยาประชากิจกรจักร. (2557). พงศวดารโยนก. นนทบุรี: ศรีปัญญา.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2559). วิถีล้านนาใต้ฟ้าเมียวดี. เชียงใหม่: บริษัททรีโอแอดเวอร์ไทซิ่ง แอนด์ มีเดียจำกัด.

มยุรี พูนผลวัฒนาภรณ์. (2553). การศึกษาระบบเสียงภาษาไทยถิ่นเหนือที่ตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ยุวเรศ วุทธีรพล. (2547). การศึกษาเปรียบเทียบคำศํพท์ภาษาไทยถิ่นเหนือในตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย และตำบลตากออก อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.

รุ่งนภา เถียรถาวร. (2541). การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาไทยวน 4 จังหวัดในภาคกลาง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.

วนิดา สารพร. (2531). วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้คำของคนสามระดับอายุในภาษาไทยยวน ตำบลดอนแร่ และตำบลคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

วรลักษณ์ เดชะประทุมวัน. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างเสียงกับความหมายในคำแฝงอารมณ์ความรู้สึกภาษาไทยวน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

วิภาวรรณ ถิ่นจันทร์. (2558). การแปรเสียงวรรณยุกต์ของภาษาไทยถิ่นในจังหวัดแพร่ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ศิราพร ณ ถลาง. (2545). ชนชาติไทในนิทาน: แลลอดแว่นคติชน และวรรณกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: มติชน.

ศุจิณัฐ จิตวิริยนนท์. (2555). การปรับค่าความถี่มูลฐานโดยการแปลงค่าเฮิรตซ์เป็นเซมิโทน: แนวทางในการเสนอผลการวิเคราะห์วรรณยุกต์. The Journal: Journal of the Faculty of Arts, 8(2), 19-46.

สงวน โชติสุขรัตน์. (2512). ไทยยวน-คำเมือง. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2514). ไทยรบพม่า. พระนคร:คลังวิทยา. หน้า 235-237.

สมทรง บุรุษพัฒน์. (2543). ภูมิศาสตร์ภาษาไทยถิ่น. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมทรง บุรุษพัฒน์, สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, สุมิตรา สุรรัตน์เดชา, ณรงค์ อาจสมิติ, ปัทมา พัฒน์พงษ์, และพิเชฐ สีตะพงศ์ (2554). แผนที่กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 30(2). 83-114.

สมทรง บุรุษพัฒน์, สิริวรรณพิชา ธนจิราวัฒน์, และยุทธพร นาคสุข. (2559). การจำแนกภาษากะลอมตามแนวทางภาษาศาสตร์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 35(2), 35-56.

สมทรง บุรุษพัฒน์, สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, สุมิตรา สุรรัตน์เดชา, ปัทมา พัฒน์พงษ์, ณรงค์ อาจสมิติ, และพิเชฐ สีตะพงศ์. (2554). การใช้ภาษาและทัศนคติต่อภาษาและการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทสร้างสื่อจำกัด.

สรัสวดี อ๋องสกุล. (2539). ประวัติศาสตร์ล้านนา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

สารภี ศิลา. (2518). เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาษากรุงเทพกับภาษาคูบัว (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ. เล่มที่ ๓๒ เรื่องที่ ๕ เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศ /เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2560] http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=32&chap=5&page=t32-5-infodetail04.html

สิริวรรณพิชา ธนจิราวัฒน์, และสมทรง บุรุษพัฒน์. (2560). ระบบเสียงภาษาไทยวนในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 34(1), 90-117.

เสน่ห์ ชาวขมิ้น. (2531). ภาษาไทยยวน ที่ตำบลท่าช้าง อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.

สุธีรา ภูมิเจริญ. (2538). ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

อรทัย เจือจันอัด. (2530). ระบบเสียงภาษาถิ่นยวน ที่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

เอกพล กันทอง. (2550). การแปรของวรรณยุกต์ในภาษาไทยถิ่นเชียงใหม่ตามกลุ่มอายุ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

Bunmee, A. (2007). Dialect Geography of Khammueang Lampang: A Tonal Study (Master’s thesis). Mahidol University, Bangkok.

Brown, J. M. (1965). From Ancient Thai to Modern Dialect. Bangkok: White Lotus.

Chambers, J. K., & Trudgill, P. (1980). Dialectology. Cambridge: Cambridge University Press.

Chamberlain, J. (1975). A new look at the historical and classification of the Tai language. In J. G. Harris & J. R. Chamberlain (Eds.), Studies in Tai linguistics in honor of William J. Gedney (pp.44-66). Bangkok: Central Institute of English Language.

Intajamornrak, C. (2009). The Fundamental Frequencies of Tai Yuan Tones Spoken by Lua’ (Mal) Speakers in Nan Province, Thailand [Special Issue]. MANUSYA: Journal of Humanities, 17, 20-33.

Intajamornrak, C. (2011). Tonal variation and change in Tai Lue spoken in Phrae province. In Seino van Breugel (Ed.), Proceedings of the Thammasat Internation Symposium on language and linguistics, 4-22.

Intajamornrak, C. (2013). Language Contact: Challenging in Diversity. Naresuan University, Thailand. The Asian Conference on Education 2013 – Official Conference Proceedings 2013.

Chaimano, K. (2009). Tonal variation of Tai Lue spoken in Thailand (Doctoral dissertation). Mahidol University, Bangkok.

Chotecheun, S. (1986). The Phonology of Nan with Comparisons to Phrae (Master’s thesis). Mahidol University, Bangkok.

Cooper, M. (1997). A Tonal Study of Kammuang in Phayao. Payap Research and Development Institute and The Summer Institute of Linguistics. Research report #146. Chiangmai.

Falk, J. (1973). Linguistics and Language: A Survey of Basic Concepts and Applications. Lexington, Mass: Xerox college Publishing.

Gardner, J. (1996). A Tonal study of Kammuang in Nan and Phrae. Payap Research and Development Institute and The Summer Institute of Linguistics. Research report #138. Chiangmai.

Gedney, W. J. (1972). A Checklist for determining tones in Tai dialects. In M. Estellie Smith (Ed.), Studies in Linguistics in Honor of George L. Trager. The Hague: Mouton. 423-427.

Jonathan, G. (1996). A Tonal Study of Kammuang in Nan and Phrae (Research Report No.138). Payap Research and Development Institute and The Summer Institute of Lingusitics.

Jones, R. B. (1965). Phonological Features of Northern Thai. Southeast Asia Program Data Paper No. 58, Cornell University, Ithaca.

Jones, R. B. (1972). A Checklist for determining tones in Tai dialects. In M. Estellie Smith (Ed.), Studies in Linguistics in Honor of George L. Trager, (pp. 423-427). The Hague: Mouton.

Khanittanan, W. (1973). The Influence of Siamese on Five Lao Dialects (Doctoral dissertation). The University of Michigan.

Lewis, M.P. (Ed.). 2009. Ethnologue: Languages of the World. Sixteenth edition. Entry for Northern Thai Dallas, Tex.: SIL International.

Li, Fang Kuei. (1977). A handbook of comparative Tai. Manoa: The University of Hawaii Press

Mundhenk, N.A. (1967). Myuang Dialects : Types of Language Variation. Manuscript.

Pantupong, W. (1976). Some phonetic notes on Tai Yuan. PASAA, 6(1-2), 126-143.

Person, R.K. (1998). A Compartive Study of Tones in the Khammuang of Lampang and Chiang Rai. No.147. Payap Research and Development Institute & The Summer Institiute of Linguistics.

Pudhitanakul, W. (1979). A Tonal Comparison of Dialects in Nakhon Ratchasima Province. In Thailand, M. Phil (Thesis), U. London.

Plungsuwan, W. (1981). A Tonal Comparison of Tai Dialects in Ratchaburi (Master’s thesis). Mahidol University, Bangkok.

Pankhuenkhat, R. (1981). A Comparative Phonology of Tai Phake and Tai Kammueng. Nakhornpathom: Institute of Language and Culture For Rural Development, Mahidol University.

Pankhuenkhat, R. (1982). The Phonology of the Lanna Language (A Northern Thai Dialect). Nakhornpathom: Institute of Language and Culture For Rural Development, Mahidol University.

Schliesinger, J. (2003). Ethnic Groups of Laos, volume 3 Profile of Austro-Thai Speaking Peoples. Bangkok: White Lotus Co., Ltd.

Tanlaput, A. (1988). Tonal Variation of Lampang Kham Muang (Master’s thesis). Mahidol University, Bangkok.