มองสังคมเยอรมันจากนวนิยาย

Main Article Content

ฤดี พลานุเวช

บทคัดย่อ

นวนิยายเรื่องผิดทางรัก และเอฟฟี่ บรีสท ของเทโอดอร์ ฟอนทาเน่ นอกจากจะให้ภาพลักษณ์ของสตรี ความคิดของคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่ ยังเจาะจงนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตคู่ว่าเป็นกระบวนการขั้นพื้นฐานของสังคม ดังนั้นสังคมจึงเข้ามามีส่วนในชีวิตคู่ได้ผ่านค่านิยมของสังคมตามประเพณี เช่น เป็นธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมชั้นสูงที่ต้องเลือกแต่งงานกับคนที่เหมาะสม และหลังการแต่งงานหากคู่สมรสทำผิดประเพณีจะได้รับโทษตามกฏเกณฑ์ของสังคม ซึ่งผู้่ละเมิดจะอยู่ในสังคมนั้นยากขึ้นจนถึงขั้นไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ในสังคม

 

Theodor Fontanes Romanen Irrungen uan Wirrungen und Effi Briest stellen nicht nur die Frauenbilder, das alte und  das neue dar, sondern spezifisch auch die Ehe als elementarer gesellschaftlicher Prozess. Deswegen mischt sich die Gesellschaft in die Ehe druch gesellschaffliche Sitten ein; z.B. wurde den damaligen Sitten gemasess in hoeheren Kreisen (ausschliesslich) dem eigenen gesellschaftlichen Stand entsprechend geheiratet. Und wenn man sich nach der Hochzeit unsittlich benimmt. wird man nach den Gesellschaftssitten bestraft, die einem das Leben in der Gesellschaft schwierig bis sogar unertraeglich machen.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความ