ลักษณะสำคัญของคติเหนือจริงในเรื่องสั้นของ ฟรานซ์ คาฟคา เรื่อง “อะ คันทรี ด็อกเตอร์”

Main Article Content

พนิดา ซิมาภรณ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยชิ้นนี้ศึกษาลักษณะของคติเหนือจริงในเรื่องสั้นชื่อ “อะ คันทรี ด็อกเตอร์” ของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา เป็นนักเขียนที่มีความโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งในศตวรรษที่ 20 เขาประพันธ์นวนิยายและเรื่องสั้นที่มีชื่อเสียงหลายเล่ม ผลงานสำคัญบางชิ้นของเขาได้รับการตีพิมพ์หลังจากที่เขาเสียชีวิตด้วยวัณโรค งานเขียนของคาฟคาสามารถตีความได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการตีความตามแนวคิดของอัตถิภาวนิยม (existentialism) ลัทธิรวบรวมอำนาจ (Totalitarianism) และคติเหนือจริง (Surrealism) “อะ คันทรี ด็อกเตอร์” เป็นเรื่องสั้นที่เป็นตัวแทนของงานในแนวคิดคติเหนือจริง ซึ่งเป็นขบวนการทางวรรณศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสและมีอ็องเดร เบรอตง (André Breton) เป็นผู้นำคนสำคัญ “อะ คันทรี ด็อกเตอร์” เป็นตัวอย่างของเรื่องสั้นที่มีองค์ประกอบของคติเหนือจริงอยู่สองข้อหลักคือ ภาวะเหมือนฝัน (Dreamlike state) และความไร้สาระ (Absurdity) บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งที่จะศึกษาลักษณะสำคัญสองประการของคติเหนือจริงในเรื่องสั้น “อะ คันทรี ด็อกเตอร์” ที่คาฟคาใช้ในการเปิดเผยถึงสิ่งที่ซ่อนอยู่ภายในของตัวเอกและสภาวะของความไร้สาระที่ตัวเอกต้องเผชิญ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ซิมาภรณ์ พ. (2018). ลักษณะสำคัญของคติเหนือจริงในเรื่องสั้นของ ฟรานซ์ คาฟคา เรื่อง “อะ คันทรี ด็อกเตอร์”. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 18(1), 76–95. https://doi.org/10.14456/lartstu.2018.4
บท
บทความวิจัย

References

Breton, A. (1972). Manifestoes of Surrealism. (R. Seaver and H. R. Lane, Trans). MI: The University of Michigan Press.

Daniel-Rops, H. (1969). The Castle of Despair. Twentieth Century Interpretations of The Castle. NJ: Prenctice-Hall, Inc.

De La Durantaye, L. (2007). Kafka’s Reality and Nabokov’s Fantasy: On Dwarves, Saints, Beetles, Symbolism, and Genius. Comparative Literature, 59(4), 315-331.

Gray, R. T., Gross, R. V., Goebel, R. J., & Koble, C. (2005). A Franz Kafka Encyclopedia. Westport, CT: Greenwood Press. Hopkins, D. (2004). Dada and surrealism. Oxford: Oxford University Press.

Hubben, W. (1962). Doestoevsky, Kierkegaard, Nietzsche, and Kafka. NY: Collier Books.

Kafka, F. (1993). Franz Kafka: collected stories. London: David Campbell Publishers Ltd.

Leiter, L. H. (1958). A Problem in Analysis: Franz Kafka’s “A Country Doctor”. The Journal of Aesthetics and Art Criticism,16(3), 337-347.

Luebering, J. E. (2017). “Franz Kafka” Encyclopedia Britannica. Retrieved from Encyclopedia Britannica. combiography/Franz Kafka.

Manson, A. (2005). A Theology of Illness: Franz Kafka’s “A Country Doctor”. Literature and Medicine, 24(2), 297-314.

Marson, E., & Leopold, K. (1964). Kafka, Freud, and “Ein Landarzt”. The German Quarterly, 37(2), 146-160.

Matthews, J. H. (1965). An Introduction to Surrealism. PA: The Pennsylvania State University Press.

______. (1969). Surrealism and the Novel. Ann Arbor: The University of Michigan Press. McElroy, B. (1985). The Art of Projective Thinking: Franz Kafka and the Paranoid Vision. MFS Modern Fiction Studies, 31(2), 217-232.

Mirmobin, S., & Shabanirad, E. (2015). Interpretation of Dreams and Kafka’s A Country Doctor: A Psychoanalytic Reading. International Letters of Social and Humanistic Sciences, 63, 1-6.

Polizzotti, M. (1995). Revolution of the Mind: The Life of André Breton. NY: HarpercollinCanada Ltd.

Richardson, M. (2016). In Fijalkowski, K., & Richardson, M. (Eds.). Black humour. London: Routledge. Rohrberger, M. (1979). Story to Anti-Story. Boston: Houghton Mifflin Company.