ทัศนะภัยคุกคามไทยต่อสหรัฐอเมริกาและจีน หลังการรัฐประหาร 2006 และ 2014

ผู้แต่ง

  • รชยา เทียมประชา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ภัยคุกคาม, สหรัฐอเมริกาและจีน, การรัฐประหาร

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนะภัยคุกคามของไทยที่มีต่อสหรัฐอเมริกาและจีนหลังเกิดการรัฐประหาร 2006 และ 2014 โดยศึกษาทัศนะภัยคุกคามจากรายงานส่วนบุคคลของนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) ผู้เป็นบุคคลสำคัญและมาจากการแต่งตั้งของรัฐบาลรัฐประหารผ่านแนวคิดทัศนะภัยคุกคามของ David Singer ซึ่งพบว่าทัศนะของไทยที่มีต่อสหรัฐอเมริกาและจีนนั้นเป็นการไม่ไว้วางใจทั้ง 2 ประเทศ เพราะสหรัฐอเมริกาอาจถอนตัวออกจากภูมิภาคอาเซียนได้ และจีนอาจเป็นประเทศมหาอำนาจที่ก้าวร้าวได้เช่นกัน จากทัศนะภัยคุกคามเช่นนี้ หลังการรัฐประหาร ไทยจึงพยายามป้องกันความเสี่ยงจากเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ข้างต้นด้วยการสร้างความร่วมมือทางความมั่นคงกับทั้งสหรัฐอเมริกาและจีน คือ การฝึกซ้อมร่วมทางทหารกับมหาอำนาจ โดยบทความนี้นำเสนอการฝึกซ้อมร่วมทางทหารตั้งแต่ปีค.ศ. 2007 – 2017 ซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการด้านความมั่นคงของไทยต่อสหรัฐอเมริกาและจีนอย่างเห็นได้ชัดคือ การฝึกซ้อมร่วมระหว่างไทย-สหรัฐอเมริกามีการลดความช่วยเหลือทางทหารและความเข้มข้นของการฝึกลง ในขณะที่การฝึกซ้อมระหว่างไทย-จีนมีความเข้มข้นของการฝึกซ้อมมากขึ้นในแต่ละปี ดังนั้น ความร่วมมือทางทหารระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาและจีนในช่วงหลังการรัฐประหาร 2006 และ 2014 จึงสอดคล้องกับทัศนะของไทยที่ยังไม่ไว้วางใจต่อประเทศมหาอำนาจทั้งสอง

References

กรมกิจการพลเรือนทหารเรือ. (2559). พิธีเปิดการฝึกผสม กองทัพเรือไทย-กองทัพเรือสาธารณรัฐประชาชนจีน BLUE STRIKE 2016. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://bit.ly/3lqASG6

เขียน ธีระวิทย์. (2539). การกำหนดนโยบายต่างประเทศเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คมชัดลึก ออนไลน์. (2555). โหมโรง'คอบร้าโกลด์ 2012 รหัส HEAVY YEAR. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.komchadluek.net/scoop/122216

_____. (2559). Blue Strike 2016 จีนหวังโชว์เขี้ยวเล็บกำลังรบ. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.komchadluek.net/scoop/225880

ชัชชัย ภัทรนาวิก. (2559). ยุทธศาสตร์ของไทยที่เป็นผลกระทบจากยุทธศาสตร์ของจีนในทะเลจีนใต้ต่ออาเซียน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.

ไทยรัฐ ออนไลน์. (2556). เกาะติดฝึกผสม ภายใต้รหัส Strike 2013. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.thairath.co.th/news/politic/390551

วรพงษ์ สง่าเนตร. (2559). บทบาทของกองทัพไทยในการดำเนินการความสัมพันธ์ทางทหารกับสหรัฐอเมริกา จีน และออสเตรเลีย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.

สุรพงษ์ ผลบูรณ์. (2557). เปรียบเทียบข้ออ้างการทำรัฐประหาร 3 ครั้ง: 23 กุมภาพันธ์ 2534, 19 กันยายน 2549, 22 พฤษภาคม 2557 (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อภิพล แซ่ตั้ง. (2562). นโยบายต่างประเทศของไทยต่อจีนในศตวรรษที่ 21 : ศึกษา เปรียบเทียบรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร กับรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการระหว่างประเทศและการทูต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อิทธิพล โคตะมี. (2564). 19 กันยายน 2549: รัฐประหารที่ยากจะคิดว่าจะเกิดขึ้น. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://pridi.or.th/th/content/2021/09/836

Bangkok Post. (2014). China to take part in Cobra Gold 2014. Retrieved November 11, 2022, from www.bangkokpost.com/thailand/general

Bernhardt, J., et al. (2020). The causes and consequences of joint military exercises. Retrieved November 11, 2022, from https://searchworks

Cohen, R. (1979). Threat Perception in International Crisis. Wisconsin: The University of Wisconsin Press.

Goh, E. (2005). Meeting the China Challenge: The U.S. in Southeast Asian Regional Security Strategies. Retrieved November 11,2022, from www.jstor.org/stable/resrep0654

Knorr, K. E. (1976). Historical dimensions of national security problems. The University Press of Kansas.

Meal Photography. (2013). Cobra Gold 2013. Retrieved November 11, 2022, from www.mealphotography.com/gallery

MGR Online. (2008). Cobra Gold 2008. Retrieved November 11, 2022, from https://shorturl.asia/BmOFr

Raksaseri, K. (2017). Cobra Gold tests Thai-US relations. Retrieved November 11, 2022, from www.bangkokpost.com/thailand/general

Storey, I. (2019). Thailand’s Military Relations with China: Moving from Strength to Strength. ISEAS – Yusof Ishak Institute, 43, 1-11.

Suorsa, O. (2016). Hedging against Over-dependence on US Security: Thailand and Philippines. Singapore: Nanyang Technological University.

_____. (2017). Maintaining A Small State’s Strategic Space: Omnidirectional Hedging. Retrieved November 11, 2022, from https://shorturl.asia/SDmKB

Tansey, O. (2016). The Limits of the Democratic Coup Thesis: International Politics and Post-Coup Authoritarianism. Journal of Global Security Studies, 1(3), 220-234.

Winstead, M. E. (2011). Alaska paratroopers kick off Cobra Gold 2011 in Thailand. Retrieved November 11, 2022, from https://shorturl.asia/3LglG

Wolfley, K., J. (2019) Military Statecraft and the Use of Multinational Exercises in World Politics. Foreign Policy, 17(2), 125-145.

Yuzhu, W. (2021). Hedging Strategy: Concept, Behavior, and Implications for China-ASEAN Relations. East Asian Affairs, 1(2), 1-36.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-01

How to Cite

เทียมประชา ร. (2024). ทัศนะภัยคุกคามไทยต่อสหรัฐอเมริกาและจีน หลังการรัฐประหาร 2006 และ 2014. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 13(1), 423–435. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/266374